ขณะนี้คุณอยู่ที่ ›

การช่วยเหลือเด็กที่บกพร่องทางการเรียนรู้ให้เข้าใจสิ่งที่อ่าน ตอนที่ 1

การช่วยเหลือเด็กที่บกพร่องทางการเรียนรู้ให้เข้าใจสิ่งที่อ่าน ตอนที่ 1

ในบทความนี้ประกอบด้วย

  • กลยุทธ์และเทคนิคพื้นฐาน
  • การพัฒนาคำศัพท์
  • กลยุทธ์การสร้างความเข้าใจโดยเฉพาะ
  • บทสรุป

นัก เรียนที่ดิ้นรนเพื่อจะเข้าใจสิ่งที่ตัวเองอ่านมักจะตีความงานที่ได้รับมอบ หมายให้อ่านนั้นอย่างผิดๆและยังไม่สามารถจับความคิดรวบยอดได้อีกด้วย  นี่เป็นเรื่องที่คับข้องใจอย่างมากสำหรับนักเรียนซึ่งอาจไม่สามารถตีความ ข้อมูลได้

ลักษณะชั้นเรียนของนักเรียนที่บกพร่องทางการเรียนรู้ควรเป็นอย่างไร ตอนที่ 3

ลักษณะชั้นเรียนของนักเรียนที่บกพร่องทางการเรียนรู้ควรเป็นอย่างไร ตอนที่ 3

ส่วนนักวิชาการศึกษาพิเศษในชั้นเรียนโดยทั่วไปล่ะ  ไม่ว่าจะเป็นครูที่ปรึกษา  ทีมครูที่ช่วยเหลือ  และผู้มีส่วนร่วมช่วยเหลืออื่นๆ  พวกเขาไม่ได้ทำการปรับเปลี่ยนตามความต้องการที่แตกต่างของนักเรียนแต่ละคน หรือ  แน่นอน นั่นเป็นความตั้งใจ  แต่มันกลายเป็นว่า  มีประเด็นที่ชัดเจนในอีกทิศทางหนึ่ง  นักการศึกษาพิเศษอยู่ในท่ามกลางชั้นเรียนการศึกษาทั่วไป ปรับเปลี่ยนการพุ่งเป้าส่วนใหญ่ไปที่กิจกรรม  การลื่นไหลของกิจกรรม  และการมีส่วนร่วมและการสนองตอบโดยทั่วไปของกลุ่ม  พวกเขาจะกลายเป็นครูประจำชั้นเรียนปกติที่ให้การสนับสนุน  และยังให้คำแนะนำ “พิเศษ” ในแบบกฏเกณฑ์เก่าๆมากกว่าจะให้เฉพาะเด็กแต่ละคนไป

ลักษณะชั้นเรียนของนักเรียนที่บกพร่องทางการเรียนรู้ควรเป็นอย่างไร ตอนที่ 2

ลักษณะชั้นเรียนของนักเรียนที่บกพร่องทางการเรียนรู้ควรเป็นอย่างไร ตอนที่ 2

การวินิจฉัยความแตกต่างและหลักการว่าด้วยความยุติธรรม

ลักษณะชั้นเรียนของนักเรียนที่บกพร่องทางการเรียนรู้ควรเป็นอย่างไร ตอนที่ 1

ลักษณะชั้นเรียนของนักเรียนที่บกพร่องทางการเรียนรู้ควรเป็นอย่างไร ตอนที่ 1

สภาพแวดล้อมของชั้นเรียนโดยทั่วไปที่ตอบสนองต่อความแตกต่างและความต้องการ ของนักเรียนแต่ละคนเป็นอย่างไร  คุณครูปรับเปลี่ยนรูปแบบขององค์ประกอบในชั้นเรียนให้พร้อมมากน้อยแค่ไหน  คุณครูตระเตรียมและปรับวิธีการสอนอย่างไร

ปัญหาบกพร่องทางการอ่านกับการสะกดคำ ตอนที่ 2

ปัญหาบกพร่องทางการอ่านกับการสะกดคำ ตอนที่ 2

ระบบการสะกดคำในภาษาอังกฤษช่วยให้สามารถเดาคำศัพท์ ได้หรือไม่

ระบบ การสะกดคำในภาษาอังกฤษไม่ได้เป็นเรื่องที่ชวนปวดหัวและเดาไม่ได้  เราสามารถจะสอนอย่างเป็นระบบและเป็นเหตุเป็นผล  คำในภาษาอังกฤษเกือบครึ่งหนึ่งเป็นคำที่เดาได้และอยู่บนพื้นฐานของเสียงตัว อักษรจริงๆ เช่นคำว่า  slap  pitch  boy  อีก 37% เป็นคำธรรมดาที่คุ้นเคยที่เกือบจะเดาได้ ยกเว้น คำเสียงเดียว เช่น Knit และ boat

ปัญหาบกพร่องทางการอ่านกับการสะกดคำ ตอนที่ 1

ปัญหาบกพร่องทางการอ่านกับการสะกดคำ ตอนที่ 1

โดยทั่วไปการสะกดคำมีความยุ่งยากอย่างไร

การเขียนเป้าหมายของแผนการศึกษาเฉพาะบุคคล (IEP) ตอนที่ 3

การเขียนเป้าหมายของแผนการศึกษาเฉพาะบุคคล (IEP) ตอนที่ 3

ด้านคณิตศาสตร์

หลังจากที่เด็กชำนาญในทักษะทางคณิตศาสตร์ในการบวก ลบ คูณ หารแล้ว เขาต้องเรียนรู้วิธีการใช้เหตุผลในการแก้ปัญหาโจทย์ที่เป็นคำพูด

เจนเป็นนักเรียนคนหนึ่งที่มาขอคำปรึกษา  ครูเขียนเป้าหมายทางคณิตศาสตร์ใน IEP ให้ว่า

เจน จะใช้วิธีการแก้ปัญหาโจทย์ที่เป็นคำพูดสองขั้นตอนด้วย + และ -  ตั้งแต่เลข 0 ถึงเลข 999 และขั้น คูณและหาร ตั้งแต่เลข 0  ถึงเลข 12  ได้สามในสี่ครั้ง

นี่ไม่ใช่เป้าหมาย IEP ที่ดี ทำไมจึงไม่ใช่

การเขียนเป้าหมายของแผนการศึกษาเฉพาะบุคคล (IEP) ตอนที่ 2

การเขียนเป้าหมายของแผนการศึกษาเฉพาะบุคคล (IEP) ตอนที่ 2

ด้านการอ่าน

ในปี 2000 มีรายงานของผู้เชี่ยวชาญกลุ่มวิจัยการอ่านแห่งชาติ (National Reading Panel) ของสหรัฐอเมริกาได้เปิดเผยงานวิจัยด้านการอ่านมากกว่า 10,000 ชิ้นงานวิจัยเอาไว้  ข้อมูลทั้งหมดนั้นช่วยให้เราเข้าใจด้านการอ่านดีขึ้น  รวมทั้งสิ่งที่นำไปใช้ได้ในการสอน  สิ่งที่ค้นพบในการวิจัยเรื่องนี้ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงด้านการเรียนการ สอนอย่างสิ้นเชิง  ในปี 2001 รัฐสภาได้นำนโยบายให้นักเรียนทุกคนผ่านการเรียนการสอนให้ได้มาใช้  (No child left behind) ผลของการวิจัยนี้ถูกนำมาใช้ด้วย

การเขียนเป้าหมายของแผนการศึกษาเฉพาะบุคคล (IEP) ตอนที่ 1

การเขียนเป้าหมายของแผนการศึกษาเฉพาะบุคคล (IEP) ตอนที่ 1

เราต่างก็ตั้งเป้าหมายของตัวเราเอง ไม่ว่าเราจะรู้ตัวหรือไม่  เป้าหมายของเราอาจเป็นแค่ทำงานให้ทันเวลา หรืออาจซับซ้อนไปถึงเรื่องงบประมาณค่าใช้จ่าย เรารู้ว่าเราต้องการจะทำอะไรแล้วเราก็จัดเตรียมที่จะทำมัน

เป้าหมาย ของ IEP หรือแผนการศึกษาเฉพาะบุคคลก็ไม่ต่างจากเป้าหมายส่วนบุคคล  สำหรับ IEP แล้ว เราจะสร้างสรรค์โปรแกรมการศึกษาสำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ  เป้าหมายของ IEP จะระบุถึงสิ่งที่เราหวังว่าเด็กจะบรรลุได้ หรือผลการเรียนที่ตั้งใจจากการเรียนการสอน

ทักษะการจัดระบบสำหรับนักเรียนที่บกพร่องทางการเรียนรู้: ระบบในการจัดแฟ้มเอกสาร

ทักษะการจัดระบบสำหรับนักเรียนที่บกพร่องทางการเรียนรู้: ระบบในการจัดแฟ้มเอกสาร

ลองคิดดูซิ นักดนตรีมาถึงที่บ้านของผู้จ้างแล้วถามว่า เขาจะขอยืมเครื่องมือเล่นดนตรีได้บ้างไหม  นักกีฬาอเมริกันฟุตบอลวิ่งไปที่สนามสำหรับการเล่นเกมอันสำคัญโดยไม่ใส่หมวก และที่ใส่หน้าอกกันกระแทก  เจ้าหน้าที่พยาบาลรีบตรงมาตามการโทรเรียกของ 191 แต่ลืมเครื่องปฐมพยาบาลไว้ที่สถานีดับเพลิง  ยอมรับไม่ได้ใช่ไหม  แน่นอน  นักดนตรีคงต้องเลิกเป็นนักดนตรีไปเลย  นักฟุตบอลคงจะถูกให้ถอนตัวจากการแข่งขัน  เจ้าหน้าที่พยาบาลคงจะไม่ได้รับความไว้วางใจในการทำหน้าที่ของพวกเขา บุคคลเหล่านี้ต้องการการเข้าถึงอุปกรณ์และเครื่องมือเฉพาะพิเศษนี้ทันที  นักเรียนก็เช่นเดียวกัน  แม้กระนั้น เรามักได้ยินบ่อยๆว่า  “ฉันลืมหนังสือ”  “

หน้า

^ กลับสู่เนื้อหาหลัก