ขณะนี้คุณอยู่ที่ ›

แนวทางการดำเนินการจัดตั้งประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน

โดย สันติพจน์ กลับดี 

 

ในแผนงานการจัดตั้งประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน นอกจากระบุคุณลักษณะของความร่วมมือไว้ 6 คุณลักษณะ 33 ประเด็นความร่วมมือ และ 338 มาตรการแล้ว ในแผนงานดังกล่าวยังได้ระบุแนวทางการดำเนินงานซึ่งประกอบด้วย กลไกการดำเนินงาน การระดมทุน ยุทธศาสตร์การประชาสัมพันธ์ และกลไกการทบทวนแผนงานการจัดตั้งประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียนไว้ดังนี้ 

 

1. กลไกการดำเนินงาน 

การจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

โดย   เติมธรรม  สิทธิเลิศ

 

 

การจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน เกิดขึ้นเนื่องจากความเปลี่ยนแปลงของกระแสโลกาภิวัตน์ตลอดจนการทำข้อตกลงการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจในภูมิภาคต่าง ๆ ที่มีเพิ่มมากขึ้น เป็นเหตุผลสำคัญในการกระตุ้นให้อาเซียนเร่งดำเนินงานให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว มีการกำหนดให้ดำเนินการแล้วเสร็จภายในปี 2015 (พ.ศ.2558)

 

องค์ประกอบในประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

โดย  เติมธรรม  สิทธิเลิศ

 

 

ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ถูกจัดตั้งขึ้นตามพิมพ์เขียวการจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC Blueprint) โดยมีการกำหนดยุทธศาสตร์สำคัญ 4 ด้าน ซึ่งถือว่าเป็นแผนงานเพื่อให้บรรลุเป้าหมายการเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนในปี ค.ศ.2015 (พ.ศ.2558) ได้แก่

1. การเป็นตลาดเดียวและฐานการผลิตร่วมกัน (Single market and production base)

2. การสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจของอาเซียน (Highly competitive economic region)

3. การพัฒนาเศรษฐกิจอย่างเสมอภาค (Region of equitable economic development)

เครื่องพิมพ์ 3 มิติ : เปิดโลกกว้างให้คนพิการ

โดย...Progress Thailand (www.progressTH.org)

เรื่องความเท่าเทียมและเสมอภาคในสังคม เป็นหนึ่งประเด็นหนึ่งที่ Progress Thailand ให้ความสำคัญและต้องการผลักดันอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะเรื่องการเข้าถึงบริการสาธารณะของผู้พิการ เช่น เรื่องการผลักดันให้มีการติดลิฟต์ที่สถานีรถไฟฟ้า BTS และ MRT ที่ทุกวันนี้มีรถไฟฟ้ามาเกือบ 20 ปี แต่คนพิการที่ใช้รถเข็นแทบไม่สามารถใช้ได้ เพราะไม่มีลิฟต์ให้ขึ้นลง

ก.ไอซีทีผนึกก.ศึกษาฯมอบรางวัลเด็กไทยใช้ไอทีสร้างสรรค์

กระทรวงไอซีที ร่วมมือกับ กระทรวงศึกษาฯ และ ATCI มอบรางวัลในโครงการ “Thailand ICT Youth Challenge 2014” ให้นักศึกษาที่ชนะในการคิดใช้ไอซีทีอย่างสร้างสรรค์

สื่อดิจิตอลแห่งอนาคต (3)

นอกจากการส่งความรู้สึก “กอด” และความรู้สึก “จูบ” แล้ว ก็ยังมีงานวิจัยที่ออกแบบอุปกรณ์ให้สามารถส่ง “กลิ่น” รวมไปถึงความรู้สึกรับรู้ “รสชาติ” ของลิ้นในระยะทางไกล ๆ ได้ แน่นอนครับ

 

เมื่อวันพุธที่แล้ว ผมชวนคุณผู้อ่านประจำคอลัมน์ของผมมาตั้งคำถามถึงอนาคตของสื่อดิจิตอลในทศวรรษข้างหน้า และผมพูดไปถึงว่านอกจากสมาร์ทโฟนที่เรา ๆ ใช้กันอยู่ทุกวัน มนุษย์เราสามารถติดต่อสื่อสารกันได้อย่างไรบ้าง เราสามารถเสพข้อมูลหรือสื่อสารกันผ่านประสาทสัมผัส ทั้งห้าให้ครบทั้ง หมดได้ไหม? ถ้าใครยังจำได้ผมมีพูดถึงการส่งความรู้สึก “กอด” ไปเมื่อวันพุธที่แล้ว

 

สื่อดิจิตอลแห่งอนาคต (2)

 

 

ถือว่าเป็นข้อดีของการผสมผสานความคิดระหว่างแนวคิดทางด้านวิทย์และศิลป์ โดยเฉพาะการบูรณาการความรู้ทางด้านเทคโนโลยีกับนิเทศศาสตร์สมัยใหม่เข้าด้วยกันจริง ๆ

 

สื่อดิจิตอลแห่งอนาคต(1)

ผมเองก็ไปนั่งอ่านงานวิจัยของนักวิชาการทางด้านนิเทศศาสตร์และเทคโนโลยีสารสนเทศทั้งในไทยและต่างประเทศหลาย ๆ ท่านก็เห็นค่อนข้างตรงกันครับ ว่าในอีกไม่กี่ทศวรรษข้างหน้า

 

สื่อดิจิตอลเป็นอีกเรื่องใหญ่ ๆ เรื่องหนึ่งในโลกยุคสารสนเทศที่จะไม่พูดถึงไม่ได้เลยนะครับ เพราะในระยะเวลาไม่กี่สิบปี เราเห็นตั้งแต่การเกิดขึ้นของโลกแห่งโซเชียลมีเดียที่เป็นสื่อที่ทรงพลังแห่งศตวรรษที่ 21 ไปจนถึงวิทยุออนไลน์ อินเทอร์เน็ต เกมอิเล็กทรอนิกส์ รวมไปถึงทีวีดิจิตอลที่เกิดขึ้นในบ้านเมืองเราเมื่อไม่นานมานี้ เรียกว่าสื่อดิจิตอลใหม่เกิดขึ้นมาตลอดเวลาอย่างเป็นพลวัตจริง ๆ

 

ตัวช่วย “ทำนายเวลาอุจจาระ” มาแล้ว

  อุปกรณ์ใหม่เครื่องทำนายเวลา “อุจจาระ” ออกมาแล้ว เหมาะสำหรับผู้ที่ไม่สามารถเคลื่อนไหวได้ด้วยตัวเอง เพราะเครื่องจะได้เตือนผู้ดูแลให้พาไปเข้าห้องน้ำได้ทันเวลา

       

       อุปกรณ์ดังกล่าวมีชื่อว่า “D Free” ผลงานของสตาร์ทอัป Triple W ซึ่งมีแผนจะเปิดแคมเปญใน Indiegogo ในเร็วๆ นี้ โดยทางผู้ผลิตหวังว่าจะมุ่งไปในด้านอุปกรณ์การแพทย์สำหรับผู้ป่วยที่ช่วยเหลือตัวเองไม่ได้

       

ศูนย์นวัตกรรมไมโครซอฟท์

ศูนย์แห่งนี้เริ่มก่อตั้งขึ้นตั้งแต่ปี 2551 โดยเป็น 1 ใน 113 ศูนย์นวัตกรรมไมโครซอฟท์ที่ตั้งอยู่ทั่วโลก เดิมตั้งอยู่ที่ศูนย์ศึกษาสาทรธานี ล่าสุดได้ขยายความร่วมมือและย้ายที่ตั้งศูนย์แห่งใหม่มาอยู่ในสำนักงานของ สวทช.พระราม 6

 

เป็นอีกหนึ่งก้าวสำคัญในการพัฒนาเทคโนโลยีของประเทศไทย สำหรับการเปิดศูนย์นวัตกรรมไมโครซอฟท์เพื่อสนับสนุนและพัฒนาบุคลากรในอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ และเตรียมความพร้อมเดินหน้าสู่นโยบายเศรษฐกิจดิจิตอล ที่มีเทคโนโลยีเป็นพลังสำคัญในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจและสังคมให้ก้าวไปข้างหน้า

 

หน้า

^ กลับสู่เนื้อหาหลัก