ขณะนี้คุณอยู่ที่ ›

แนวทางในการทำแผนการศึกษาเฉพาะบุคคล (IEP) ตอนที่ 3 (09/02/2011)

แนวทางในการทำแผนการศึกษาเฉพาะบุคคล (IEP) ตอนที่ 3 (09/02/2011)

การเตรียมพร้อมสำหรับการประชุม IEP

  1. ให้พูดคุยกับครูการศึกษาพิเศษหรือครูการศึกษาประจำเกี่ยวกับการกำหนด เวลา วันที่ และสถานที่สำหรับการประชุม IEP  ทำบัญชีรายชื่อว่าใครควรจะอยู่ร่วมการประชุมบ้าง
  2. ทันทีที่กำหนดการประชุมแล้ว  ให้ส่งคำเชิญถึงทุกๆคนในบัญชีรายชื่อดังตัวอย่างต่อไปนี้

บัตรเชิญ
กรุณามาร่วมการประชุม IEP และร่วมแสดงความคิดเห็น

วัน:   พุธที่ 23 ตุลาคม
เวลา:  14.30 น.
สถานที่:  ห้องประชุม 4

ลงชื่อของคุณ

แนวทางในการทำแผนการศึกษาเฉพาะบุคคล (IEP) ตอนที่ 2 (02/02/2011)

แนวทางในการทำแผนการศึกษาเฉพาะบุคคล (IEP) ตอนที่ 2 (02/02/2011)

ฉันจะพัฒนาการทำ IEP ของตนเองได้อย่างไร
ควรทำอะไรก่อนการประชุม IEP

แนวทางในการทำแผนการศึกษาเฉพาะบุคคล (IEP) ตอนที่ 1 (27/01/2011)

แนวทางในการทำแผนการศึกษาเฉพาะบุคคล (IEP) ตอนที่ 1 (27/01/2011)

บทความนี้ประกอบด้วย

  • บทนำ
  • IEP หรือแผนการศึกษาเฉพาะบุคคลคืออะไร
  • ฉันจะพัฒนาการทำ IEP ของตนเองได้อย่างไร
  • ก่อนการประชุม
  • การเขียน IEP
  • เตรียมพร้อมสำหรับการประชุม
  • การมีส่วนร่วม
  • หลังการประชุม

หมายเหตุบรรณาธิการ: บทความนี้ถูกตีพิมพ์ก่อนการอนุมัติพระราชบัญญัติการศึกษาเพื่อคนพิการในปี ค.ศ. 2004 ในสหรัฐอเมริกา  กฎหมายส่วนใหญ่จะคงเหมือนเดิม มีการเปลี่ยนแปลงบ้างในเรื่องของภาษาและกระบวนการ  บทความนี้ยังคงมีข้อมูลที่มีคุณค่าและยังคงใช้ได้กับกฎหมายปัจจุบัน

คำถาม: คำตอบ ฉันเป็นดิสเลคเซีย หมายความว่าอย่างไร 20/01/2011

คำถาม: คำตอบ ฉันเป็นดิสเลคเซีย หมายความว่าอย่างไร 20/01/2011

เมื่อลูกสาววัย 5 ขวบของเธอเริ่มดิ้นรนกับการจดจำตัวอักษร การสัมผัสเสียงและคำที่มองเห็น เช็ลลี่ บอลล์-แดนเนนเบิร์ก ผู้มีประสบการณ์เป็นครู สงสัยว่า มันเป็นความบกพร่องทางด้านการอ่าน นั่นกลายเป็นเรื่องที่ถูกต้อง บอลล์-แดนเนนเบิร์ก ยึดถือตนเองที่จะเป็นผู้ส่งเสริมที่ดีที่สุดให้กับลูกสาวของเธอ และเริ่มต้นโดยเดินทางจากโอไฮโอไปแคลิฟอร์เนียเพื่อศึกษาระดับปริญญาตรีใน การตรวจวินิจฉัยอาการดิสเลกเซีย

การเดินทางที่เริ่มต้น 4/01/2011

การเดินทางที่เริ่มต้น  4/01/2011

การบกพร่องทางการเรียนรู้ถูกนิยามว่าเป็นความบกพร่อง ของแต่ละบุคคลที่ถูกรับรู้ในการวิเคราะห์ ในกระบวนการผลิตข้อมูลในสิ่งแวดล้อมแห่งการเรียนรู้ตามแบบแผน  นั่นเป็นคำนิยามทางแพทย์  สำหรับผมแล้ว ความบกพร่องทางการเรียนรู้เป็นเรื่องส่วนบุคคลมากกว่ามาก  นี่เป็นบันทึกของการเดินทางของผม  และเป็นเครื่องมือหนึ่งที่ถูกออกแบบให้ช่วยเหลือท่านเพิ่มพูนประสบการณ์ใน วิทยาลัยให้สูงที่สุด รวมทั้งสร้างทักษะทางธุรกิจที่ท่านต้องการสำหรับความสำเร็จในโลกที่แท้จริง

การสอนการจัดการเรื่องเวลาให้กับนักเรียนที่บกพร่องทางการเรียนรู้ 24/12/2010

การสอนการจัดการเรื่องเวลาให้กับนักเรียนที่บกพร่องทางการเรียนรู้  24/12/2010

การจัดการเรื่องเวลาเป็นเรื่องท้าทายสำหรับทุกคน  นักเรียนที่บกพร่องทางการเรียนรู้ด้านภาษา  สมาธิสั้น และไฮเปอร์แอ็คทีฟ  บกพร่องทางการอ่าน (dyslexia) และที่มีความบกพร่องทางด้านอื่นๆ มักพบว่ายิ่งเป็นเรื่องท้าทายมากยิ่งขึ้นกว่านักเรียนคนอื่นๆ

กระบวนการค้นพบ : การค้นหาว่าทำไมลูกของคุณจึงดิ้นรน 20/12/2010

กระบวนการค้นพบ : การค้นหาว่าทำไมลูกของคุณจึงดิ้นรน 20/12/2010

คาเรน เจ โฟลี ทำหน้าที่ผู้ปกครองตลอดสิบปีที่ผ่านมา  เธอยังเป็นนักเขียนและทำวิจัยระดับปริญญาเอกด้านการติดต่อสื่อสาร  หนังสือบันทึกความทรงจำของเธอในชื่อ “ เหมือนเสียงที่ผ่านน้ำ: การเดินทางของแม่ผ่านความบกพร่องในกระบวนการได้ยิน”  (Like Sound Through Water: A Mother’s Journey Through Auditory Processing Disorder) ได้บรรยายถึงกระบวนการค้นพบตลอดสามปีของเธอ  ระหว่างช่วงเวลานั้น  เธอค้นหาคำตอบต่อเรื่องความเชื่องช้าอย่างหนักของลูกชายด้านการใช้คำพูดและ ความเข้าใจ  สำหรับข้อมูลเพิ่มเติมหรือต้องการติดต่อผู้เขียน ลองดูที่เว็บไซต์ www.karenfoli.com

การตั้งเป้าหมายสำหรับเด็กๆ ที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้: บทบาทของคุณเป็นเรื่องสำคัญ 24/11/2010

การตั้งเป้าหมายสำหรับเด็กๆ ที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้: บทบาทของคุณเป็นเรื่องสำคัญ 24/11/2010

ผู้คนส่วนใหญ่มักตั้งเป้าหมายกันในเดือนมกราคม  ช่วงวันพักผ่อนสิ้นสุดแล้ว  ก็กลับไปเรียนหนังสือ  กลับไปทำงาน และกลับไปสู่กิจวัตรประจำวันของครอบครัว  คุณครูวางแผนการสอนในชั้นเรียนสำหรับปีต่อไป  ขณะที่คุณพ่อคุณแม่คิดถึงเกี่ยวกับครอบครัวของตนและสิ่งที่พวกเขาต้องการ สำหรับสมาชิกในครอบครัวแต่ละคน  นายจ้างเตรียมแผนงานและเป้าหมายประจำปี

การให้บริการช่วยเหลือเด็กที่บกพร่องทางการเรียนรู้ด้านที่ไม่ใช่ภาษา ตอนที่ 5 (29/10/2010)

การให้บริการช่วยเหลือเด็กที่บกพร่องทางการเรียนรู้ด้านที่ไม่ใช่ภาษา ตอนที่ 5 (29/10/2010)

การให้บริการช่วยเหลือเด็กที่บกพร่องทางการเรียนรู้ด้านที่ไม่ใช่ภาษา (NLD) แบบ CAMS นั่นคือ การชดเชย (Compensations)  การทดแทน (Accommodations)  การแก้ไข (Modification) และ กลยุทธ์ (Strategies) มีดังนี้คือ
การแก้ไข (Modification)

การให้บริการช่วยเหลือเด็กที่บกพร่องทางการเรียนรู้ด้านที่ไม่ใช่ภาษา ตอนที่ 4 (30/09/2010)

การให้บริการช่วยเหลือเด็กที่บกพร่องทางการเรียนรู้ด้านที่ไม่ใช่ภาษา ตอนที่ 4 (30/09/2010)

การให้บริการช่วยเหลือเด็กที่บกพร่องทางการเรียนรู้ด้านที่ไม่ใช่ภาษา (NLD) แบบ CAMS นั่นคือ การชดเชย (Compensations)  การทดแทน (Accommodations)  การแก้ไข (Modification) และ กลยุทธ์ (Strategies) มีดังนี้คือ
การทดแทนประนีประนอม  (Accommodations)
            1. การบ้านซึ่งต้องการให้สำเนาข้อความต้องถูกปรับแก้หรือละทิ้งไป เนื่องมาจากปัญหาธรรมชาติในเรื่องการมองเห็นในที่ว่างของเด็กNLD ต่อแบบฝึกหัดแบบนั้น การใช้วิธีการเรื่องความจำที่ดีที่สุดคือ การช่วยให้กระตือรือร้นในการใช้ภาษาและ/หรือ การอ่านในใจหรือการอ่านไม่ออกเสียง

หน้า

^ กลับสู่เนื้อหาหลัก