ขณะนี้คุณอยู่ที่ ›

“Bike for Dad คนพิการ”

ผู้พิการส่วนใหญ่ รู้สึกภูมิใจที่ได้เข้าร่วมกิจกรรม "ปั่นเพื่อพ่อ BIKE FOR DAD"

ขบวนผู้พิการที่เข้าร่วมในกิจกรรม "ปั่นเพื่อพ่อ BIKE FOR DAD" ที่เริ่มเส้นทางตั้งแต่หน้าโรงแรมเอเชีย เขตราชเทวี ผ่านหน้าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และกลับมาถึงหน้าหอศิลปวัฒนธรรมกรุงเทพมหานคร ซึ่งผู้พิการส่วนใหญ่มีความรู้สึกภูมิใจที่เป็นส่วนหนึ่งของกิจกรรมนี้ โดย นายปทีป ประทุมเกษ์ หนึ่งในผู้พิการขา กล่าวว่าคนพิการทุกคนรักพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และดีใจที่ได้แสดงออกถึงความจงรักภักดีต่อพระองค์

“งานวันคนพิการสากล ปี 2558”

พลตำรวจเอก อดุลย์ แสงสิงแก้ว รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (รมว.พม.) เป็นประธานในพิธีเปิดงาน “วันคนพิการสากล ประจำปี 2558” ภายใต้แนวคิด “สังคมบูรณาการด้านการเข้าถึงและการเสริมพลัง เพื่อคนทั้งมวล” เพื่อให้คนพิการได้แสดงถึงศักยภาพ ศักดิ์ศรี และความสามารถ มีส่วนร่วมในกิจกรรมทางสังคมอย่างเต็มที่ ให้สังคมได้รับรู้ อีกทั้งมีความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับคนพิการ พร้อมทั้งให้การยอมรับและให้โอกาสที่เท่าเทียมโดยไม่เลือกปฏิบัติต่อคนพิการ พร้อมมอบโล่ประกาศเกียรติคุณแก่คนพิการต้นแบบ หน่วยงาน องค์กรดีเด่นที่สนับสนุนงานด้านคนพิการ จำนวนทั้งสิ้น 166 รางวัล โดยมีผู้ร่วมงานประกอบด้ว

เครือข่ายสังคมออนไลน์

เครือข่ายสังคมออนไลน์

ต่อเนื่องจากบทความเรื่อง  เมื่อเด็กแอลดีเล่นเฟสบุ๊ก (When kids with LD Facebook) ที่บอกเล่าเกี่ยวกับประโยชน์และความเสี่ยงของเด็กเมื่อใช้สื่อสังคมออนไลน์ โดยเน้นการปรับใช้กับเด็กแอลดีและเด็กสมาธิสั้น   คราวนี้เรามาดูรายละเอียดวิธีการปกป้องเด็กแอลดีจากภัยออนไลน์ของเด็ก โดยการสอนเขาถึงวิธีการปกป้องข้อมูลส่วนตัวและชื่อจริงจากผู้คนที่ได้พบผ่านทางอินเทอร์เน็ตในบทความนี้กัน นอกจากนี้ ยังมีข้อมูลเกี่ยวกับเครื่องมือเทคโนโลยีต่างๆ ที่ช่วยปิดกั้น กรอง และตรวจสอบกิจกรรมออนไลน์ของเด็ก รวมทั้งแนวทางในการเลือกเครื่องมือที่ตรงกับความกังวลของพ่อแม่ที่สุดด้วย ทั้งหมดนี้มาจากบทความเรื่อง Soci

“ควันหลง Bike for Dad”

   รวมพลังแห่งความกตัญญู และร่วมแรงร่วมใจสามัคคีทั่วประเทศปั่นจักรยานเฉลิมพระเกียรติ
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ เนื่องในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา
88 พรรษา 5ธันวาคม 2558

  เมื่อคนพิการร่วมเป็นส่วนหนึ่งในกิจกรรม "ปั่นเพื่อพ่อ BIKE FOR DAD" ถึงแม้ว่าร่างกายจะไม่ปกติเหมือนเช่นคนทั่วไป แต่พวกเขาได้แสดงความกตัญญูกตเวทีต่อพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว อย่างไร ติดตามได้จากรายงาน

การออกแบบเพื่อการใช้งานของคนทุกกลุ่มในสังคม (universal design)

               อาคารบ้านเรือน สิ่งก่อสร้างสาธารณะ รวมทั้งถนนทางเดินโดยทั่วไปมักถูกออกแบบและก่อสร้างไว้สำหรับบุคคลปกติเท่านั้น โดยไม่ได้คำนึงถึงการออกแบบเผื่อไว้สำหรับผู้สูงอายุ คนพิการ และผู้ด้อยโอกาสต่างๆ ที่มีข้อจำกัดในการใช้ หรือเข้าถึงสิ่งแวดล้อมสถานที่และสิ่งของเครื่องใช้ทั่วๆ ไปในสังคมทำให้กลุ่มผู้ด้อยโอกาสดังกล่าวเป็นจำนวนมากต้องประสบปัญหาและอุปสรรคต่างๆ ในการใช้ชีวิตกับครอบครัวและสังคม ทั้งในการประกอบกิจวัตรประจำวัน การเดินทาง (transportation) การเข้าสังคม และการประกอบอาชีพ สิ่งเหล่านี้ไม่เพียงแต่เป็นปัญหาทางกายต่อกลุ่มผู้ด้อยโอกาสเท่านั้น ถึงแม้บุคคลเหล่านั้น จะมีข้อจำกัดทางร่างกาย

เมื่อเด็กแอลดีเล่นเฟสบุ๊ก

เมื่อเด็กแอลดีเล่นเฟสบุ๊ก

เด็กที่มีปัญหาทางการเรียนรู้อาจพัฒนาได้อย่างรวดเร็วโดยใช้เว็บเครือข่ายสังคม เรามาเรียนรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับประโยชน์และความเสี่ยงของเด็กแอลดีเมื่อเล่นเฟสบุ๊กกันค่ะ ข้อมูลนี้มาจากบทความเรื่อง When kids with LD Facebook จากเว็บไซต์ www.greatschools.org เขียนโดยทีมงาน Greatschools 

 

“กิจกรรมย้อนรำลึกของ มิสเจนีวีฟ คอลฟีลด์”

มิสเจเนวีฟ คอลฟิลด์ สตรีตาบอดชาวอเมริกัน เป็นผู้ริเริ่มก่อตั้งโรงเรียน เมื่อวันที่ 12 มกราคม 2482 ใช้ชื่อว่า โรงเรียนสอนคนตาบอด โดยใช้บ้านหลังเล็ก ๆ ที่ถนนคอชเช่ ศาลาแดง นับเป็นโรงเรียนสอนเด็กพิการแห่งแรกในประเทศไทย และแห่งแรกในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ต่อมา มีผู้มีจิตกุศลช่วยเหลือและสนับสนุน ในการสงเคราะห์ผู้บกพร่องทางการเห็น ร่วมกันจัดตั้งมูลนิธิ ชื่อมูลนิธิช่วยให้การศึกษาแก่คนตาบอดในประเทศไทย เมื่อวันที่ 10 พฤษภาคม 2482 นับเป็นมูลนิธิช่วยเหลือคนพิการแห่งแรกในประเทศไทย โดยมี หลวงเลขาวิจารณ์ เป็นนายกมูลนิธิฯ

เทคโนโลยีอำนวยความสะดวกสำหรับเด็กแอลดี

เทคโนโลยีอำนวยความสะดวกสำหรับเด็กแอลดี

วันนี้มีเรื่องเทคโนโลยีอำนวยความสะดวกสำหรับเด็กแอลดีมาฝากกันค่ะ เหมาะสำหรับครูหรือผู้ปกครองเด็กแอลดีที่มีความรู้เรื่อง เทคโนโลยีอำนวยความสะดวก (Assistive Technology – AT) หรือที่เรียกง่ายๆ ว่า เอที ไม่มากนัก ข้อเขียนนี้แปลและเรียบเรียงมาจากบทความเรื่อง Assistive technology for kids with LD: An overview จากเว็บไซต์ www.greatschools.org เดิมเขียนโดย Schwab Learning ในโครงการของมูลนิธิ Charles and Helen Schwab Foundation ปรับปรุงเมื่อเดือนกุมภาพันธ์ 2553 โดยทีมงาน GreatSchools ก็หลายปีมาแล้วเหมือนกัน แต่สาระยังคงมีประโยชน์อยู่ค่ะ

 

หาสาเหตุและรักษาโรคออทิสซึ่มโดยใช้การเคลื่อนไหว

autistic

Kim Gunkel / Getty Images
 
ด้วยการอาศัยข้อได้เปรียบของการเชื่อมโยงที่มีความเคลื่อนไหวในสมองของเด็กออทิสติก นักวิจัยชี้แจงว่า การให้เด็กที่ป่วยเป็นโรคนี้ เป็นคนกำหนดแนวทางในการรักษาเอง เป็นเรื่องน่าจะเป็นไปได้
 

“ดนตรีกับชีวิตและเพลงของพ่อ”

1. ด้านการศึกษา นำเสียงดนตรีมาใช้ประกอบในการสอนแบบสร้างสรรค์ทางศิลปะผลปรากฏว่าเสียงดนตรี สามารถส่งเสริมพัฒนาการทางอารมณ์ เสริมสร้างความคิดจินตนาการ ช่วยกระตุ้นให้มีการแสดงออกในทางสร้างสรรค์ ส่งเสริมให้มีความสัมพันธ์ระหว่างประสาทหู กล้ามเนื้อมือ ให้สอดคล้องกับการใช้ความคิด ทำให้หายเหนื่อย และผ่อนคลายความตึงเครียด 

หน้า

^ กลับสู่เนื้อหาหลัก