ขณะนี้คุณอยู่ที่ ›

“การขับเคลื่อน หน่วยบริการร่วมให้บริการในระบบหลักประกันสุขภาพของ สนง. หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ”

“การขับเคลื่อน หน่วยบริการร่วมให้บริการในระบบหลักประกันสุขภาพของ สนง. หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ”

          ผมเป็นคนพิการนั่งรถวีลแชร์ และเป็นครูที่มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระมหาไถ่พัทยาพึ่งเกษียณเมื่อเดือนเมษายนที่ผ่านมา ระหว่างนี้ได้ทำงานเกี่ยวกับคนพิการควบคู่มากับงานโรงเรียนตลอด ได้ทำงานเรื่องการดำรงชีวิตอิสระคนพิการตั้งแต่ญี่ปุ่นเริ่มเข้ามาประมาณปี ๒๕๔๕ รวมถึงตั้งมูลนิธิและเป็นประธานมูลนิธิด้วย

“แคคตัส...เปลี่ยนชีวิต”

“แคคตัส...เปลี่ยนชีวิต”

          มีอาการป่วยเกร็ดเลือดแข็งตัวผิดปกติทำให้ต้องตัดขาทั้งสองข้างเหนือเข่าตั้งแต่ปี ๒๕๔๕ ตอนนั้นประมาณ ๒๓ ปี เรียนจบปริญญาตรีได้ ๑ ปี พอป่วยก็เลยต้องตัดขา ตูนโชคดีคือพี่สาวเป็นหมอ ค่อนข้างรับได้กับความพิการของเราแต่ก็ไม่ได้อยากให้เราอยู่กับบ้าน อะไรที่เราทำได้เขาก็พยายามที่จะสนับสนุน ตอนนั้นได้เข้าไปทำงานที่มูลนิธิพระมหาไถ่เพื่อการพัฒนาคนพิการ ทำงานเป็นเจ้าหน้าที่อยู่ที่ศูนย์พระมหาไถ่เพื่อการดำรงชีวิตอิสระของคนพิการ ทำหน้าที่เกี่ยวกับงานสำนักงานทั่วไป

เพจโลกกว้างข้างทางเท้า ตอนที่ 2

เพจโลกกว้างข้างทางเท้า ตอนที่ 2

          รายการนี้เป็นรายการท่องเที่ยวคนพิการ เป็นโจทย์ของสถานีไทยพีบีเอสคือต้องการสร้างแรงบันดาลใจ ผมได้ไปเสนอในแนวคิดของตัวเอง ผมเคยได้ยินคนพูดกันว่า คนพิการใช้วีลแชร์เขาไปทำงานลำบาก มีคนบอกว่าก็ให้เขาย้ายไปอยู่ใกล้ๆ ที่ทำงาน ในเมื่อถนนหนทางมันลำบาก ชีวิตคนพิการไม่ได้มีแต่งาน ไม่ใช่ว่าย้ายไปใกล้ที่ทำงานแล้วจบ คนพิการก็อยากไปเที่ยว ไปสวนสาธารณะ แสดงว่ามุมมองที่คนไม่พิการมองคนพิการก็ยังมองว่า มันมีข้อจำกัดจงใช้ชีวิตอยู่ในข้อจำกัดนั้น 

เพจโลกกว้างข้างทางเท้า ตอนที่ 1

เพจโลกกว้างข้างทางเท้า ตอนที่ 1

          เริ่มจากผมเป็นนักศึกษาสื่อสารมวลชน สายตาผมมองเมืองเปลี่ยนไปหลังจากที่ได้ใช้ชีวิตอยู่ที่สหรัฐอเมริกา ทั้งในเมืองที่ต้องใช้รถยนต์อย่างเวสต์ปาล์มบีช และเมืองใหญ่ที่มีระบบจนส่งสาธารณะแสนสบายอย่างซานฟรานซิสโก เมื่อกลับมากรุงเทพฯ ทางเท้าที่เคยมองว่าปกติก็ไม่ใช่สิ่งปกติอีกเลย ได้เล่าผ่านรายการสารคดี “คน/เดิน/เมือง” ทางสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอสเมื่อหลายปีก่อน แม้เป็นสารคดีไม่กี่ตอน ก็ทำให้ได้จัดระเบียบความคิดตัวเองใหม่ว่า เมืองที่ดีควรเป็นเช่นไร เมื่อเริ่มมีการขยายเครือข่ายรถไฟฟ้าทั้งบนดินและใต้ดินทั่วกรุงเทพฯ ทำเอาคนใช้รถใช้ถนนไม่สะดวก จึงเป็นโอกาสอันดีที่ผมต้องลุกขึ้นมารีวิวทางเท้าอีกครั้

การตรวจสอบการจ้างงานคนพิการ

การตรวจสอบการจ้างงานคนพิการ

          เรื่องปกติในการทำงาน สิ่งต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นไม่ว่าจะเป็นฝ่ายคนพิการ ฝ่ายผู้ประกอบการ หรือการบังคับใช้กฎหมายซึ่งมีช่องว่างต่าง ๆ ผมคิดว่าถึงเวลาแล้วเพราะกฎหมายใช้มาเป็นสิบปีแล้ว ควรมีการแก้ไขปรับปรุงระเบียบต่าง ๆ ให้รัดกุมมากยิ่งขึ้น เพื่อการปฏิบัติงานจะได้เข้าใจตรงกันและไม่มีช่องว่าง

“การจ้างงานคนพิการ ตามมาตรา 33”

การจ้างงานคนพิการ ตามมาตรา 33

          เมื่อประมาณปีที่แล้วมีข่าวว่ามีการโกงเงินคนพิการ เป็นเรื่องปกติในการทำงาน สิ่งต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นไม่ว่าจะเป็นฝ่ายคนพิการ ฝ่ายผู้ประกอบการ หรือการบังคับใช้กฎหมายซึ่งมีช่องว่างต่าง ๆ ผมคิดว่าถึงเวลาแล้วเพราะกฎหมายใช้มาเป็นสิบปีแล้ว ควรมีการแก้ไขปรับปรุงระเบียบต่าง ๆ ให้รัดกุมมากยิ่งขึ้น เพื่อการปฏิบัติงานจะได้เข้าใจตรงกันและไม่มีช่องว่าง

“หน่วยบริการร่วมให้บริการด้านบริการฟื้นฟูสมรรถภาพโดยองค์กรคนพิการ”

หน่วยบริการร่วมให้บริการด้านบริการฟื้นฟูสมรรถภาพโดยองค์กรคนพิการ

          มูลนิธิมีหน้าที่เผยแพร่ เรื่องการดำรงชีวิตอิสระคนพิการในประเทศไทย และสนับสนุนการทำงานเครือข่ายของศูนย์การดำรงชีวิตอิสระคนพิการในประเทศไทย ซึ่งที่ผ่านมาพยายามผลักดันให้ตัวศูนย์การดำรงชีวิตอิสระคนพิการในประเทศไทย เข้าไปเป็นหน่วยจัดบริการให้กับภาครัฐ เพื่อให้บริการกับพี่น้องคนพิการในส่วนของกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (พม.) กลไกที่เรียกว่า ศูนย์บริการคนพิการทั่วไปกำลังผลักดันให้ศูนย์บริการคนพิการทั่วไปยกระดับคุณภาพบริการ เพื่อเข้าไปจัดบริการภาคสาธารณสุขให้กับสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เพื่อให้พี่น้องคนพิการเข้าถึงบริการสุขภาพได้มากขึ้น ซึ่งตัวบริการนี้เรียกว่า การ

“การสร้างงานในชุมชน ใจดีฟาร์ม”

การสร้างงานในชุมชน ใจดีฟาร์ม

          ผมยังรับราชการประจำอยู่ที่กองบิน 4 อำเภอตาคลี จังหวัดนครสวรรค์ ณ ตอนนี้ผมพิการมาแล้ว 25 ปี ช่วง 3-4 ปีแรกได้มีโอกาสทำงานด้านคนพิการ ต่อมาได้แจ้งให้ผู้บังคับบัญชาระดับสูงทราบว่า คนพิการสามารถหาคนทำงานได้น้อย แม้ตัวผมจะรับราชการอยู่ ผมเชื่อว่าน่าจะสร้างสรรค์ผลงานเกี่ยวกับคนพิการได้มาก เมื่อรับราชการอยู่เราพิการด้วย จึงเริ่มเข้ามาจัดการด้านคนพิการเพื่อช่วยเหลือคนพิการ จึงเป็นที่มาของมูลนิธิพัฒนาศักยภาพคนพิการโดยมีการจัดการแบ่งฝ่ายการทำงานเป็น 3 ฝ่าย 1) ฝ่ายด้านการศึกษาสำหรับคนพิการและน้อง ๆ และคณะกรรมการอยู่กลุ่มหนึ่งรับผิดชอบงานด้านนี้ไป 2)ฝ่ายให้ความช่วยเหลือรถเข็นและอุปกรณ์จำเป็นส

อัพเดตชีวิตตามติดคนพิการ

อัพเดตชีวิตตามติดคนพิการ

          เรื่องที่จอดรถคนพิการ โดยเฉพาะคนพิการที่ใช้วิลแชร์ รถเข็น เพราะจะมีปัญหาในเรื่องที่จอดรถ ในการเดินทางเยอะอยู่เหมือนกัน ตัวของผู้ดำเนินรายการเองก็เป็นคนพิการประเภทการเคลื่อนไหว คือเป็นโปลิโอที่ขาขวาใส่รองเท้าเหล็กเพื่อช่วยเดิน กรณีที่หากใช้วิลแชร์ขับรถไปจอดรถในช่องจอดรถปกติ หากมีรถมาจอดชิดจะออกจากรถยาก ลงยาก หรือจะเรียกว่าลงไม่ได้เลยทีเดียว ส่วนใหญ่คนที่ใช้วิลแชร์ก็ขับรถไปไหนมาไหนเอง ส่วนใหญ่จะวางวิลแชร์ไว้ด้านหลังรถจะต้องมีคนช่วยยกลงมาให้  หรือบางครั้งก็อาจจะเอาวิลแชร์วางไว้ในส่วนของที่นั่งข้างคนขับอะไรแบบนี้ แล้วก็ก็พยายามยกขึ้นมาเอง แต่ประเด็นคือสภาพแวดล้อมไม่อำนวยสำหรับคนใช้วิล

“โครงการการเข้าถึงข้อมูลข่าวสาร”

“โครงการการเข้าถึงข้อมูลข่าวสาร”

          บริการ 1414 สายด่วนข่าวสารความรู้เป็นการให้บริการข้อมูลข่าวสารในระบบหนังสือเสียงเดซี่ผ่านโทรศัพท์อัตโนมัติหมายเลข 1414 จำนวนทั้งสิ้น 510 คู่สาย ผู้ใช้บริการสามารถเลือกฟังข้อมูล หรือเลือกใช้บริการจากเมนูต่าง ๆ ได้ เช่น ข้อมูลข่าวสารด้านคนพิการ ข่าวสารประจำวันจากหนังสือพิมพ์และเว็บไซต์ข่าว หนังสือเสียงจากห้องสมุดคนตาบอดและผู้พิการทางสื่อสิ่งพิมพ์แห่งชาติ (หนังสือเสียงจากห้องสมุดต้องสมัครสมาชิกก่อนใช้บริการ) การรับฟังวิทยุ บริการหมอคอมฯ เพื่อปรึกษาปัญหาและขอรับคำแนะนำด้านการใช้คอมพิวเตอร์ ตลอดจนเรื่อง IT

หน้า

^ กลับสู่เนื้อหาหลัก