ขณะนี้คุณอยู่ที่ ›

การ์ตูนท่องโลกอาเซียน 4

ท่องโลกอาเซียน4

การ์ตูนท่องโลกอาเซียน 3

ท่องโลกอาเซียน3

การ์ตูนท่องโลกอาเซียน 2

ท่องโลกอาเซียน 2

การ์ตูนท่องโลกอาเซียน 1

การ์ตูนท่องโลกอาเซียน 1

ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน

ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN Socio-Cultural Community)

ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

ประชาคมการเมืองความมั่นคงอาเซียน

ปัจจุบัน สภาพแวดล้อมทางการเมืองระหว่างประเทศที่ปรับเปลี่ยนไปอย่างรวดเร็ว ได้นำมาซึ่งทั้งโอกาสและความท้าทายที่อาเซียนต้องเผชิญ ไม่ว่าจะเป็นโอกาสในการเสริมสร้างความร่วมมือด้านการเมืองและความมั่นคงของ อาเซียนให้แข็งแกร่งยิ่งขึ้น หรือการเผชิญกับภัยคุกคามที่มาในรูปแบบใหม่ อาทิ การก่ออาชญากรรมและการก่อการร้ายข้ามชาติ
ผู้นำประเทศสมาชิกอาเซียนจึงได้เห็นชอบให้จัดตั้ง “ประชาคมอาเซียน” ภายในปี 2558 เพื่อสร้างความเป็นปึกแผ่นของประเทศสมาชิกอาเซียน โดยมีการจัดตั้งประชาคมการเมืองและความมั่นคงของอาเซียน เป็นหนึ่งในสามเสาความร่วมมือสำคัญของประชาคมอาเซียน

การวางรากฐานของอาเซียนด้วย สามเสาหลัก

ในช่วงกว่า 40 ปีที่ผ่านมา อาเซียน หรือ สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ได้ประสบความสำเร็จเป็นที่ยอมรับในหลายด้าน ไม่ว่าจะเป็นบทบาทการสร้างบรรยากาศของสันติภาพและการอยู่ร่วมกันโดยสันติของ ประเทศในภูมิภาค การช่วยแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในกัมพูชา การจัดตั้งเขตการค้าเสรีอาเซียน เป็นต้น

การดำรงตำแหน่ง ประธานอาเซียนของไทย

1. การเป็นประธานอาเซียนของไทย (กรกฎาคม 2551 - ธันวาคม 2552)

 

ไทยเข้ารับตำแหน่งประธานอาเซียนต่อจากสิงคโปร์เมื่อวันที่ 24 ก.ค. 2551 โดยการดำรงตำแหน่งของไทยอยู่ในช่วงที่คนไทย คือ ดร. สุรินทร์ พิศสุวรรณ ดำรงตำแหน่งเลขาธิการอาเซียน และกฎบัตรอาเซียนซึ่งเปรียบเสมือนธรรมนูญที่จะวางกฎกติกาที่เป็นรากฐาน สำหรับการรวมตัวเป็นประชาคมอาเซียนในปี 2558 มีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 15 ธ.ค. 2552

 

ไทยได้กำหนดเป้าหมายหลักในวาระการดำรงตำแหน่งประธานอาเซียนของไทยไว้ 3 ประการ (3 ‘R’s) คือ

ความร่วมมือที่สำคัญ ของอาเซียน

ความร่วมมือด้านพลังงานในอาเซียน

หน้า

^ กลับสู่เนื้อหาหลัก