ขณะนี้คุณอยู่ที่ ›

“ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ไม่ได้หยุดที่ความพิการ”

          คนพิการหลายประเภทร่วมประชุมด้วย หากสถานที่นั้นไม่มีทางลาดหรือลิฟต์ขึ้นอาคาร คนพิการนั่งรถเข็นจะเกิดความเสีย เปรียบ ในขณะที่คนหูหนวกสามารถใช้บันไดปกติได้ เมื่ออยู่ในห้องประชุม คนพิการร่างกายสามารถใช้สายตาอ่านมองและใช้หูฟังได้ปกติ ในขณะที่คนตาบอด และหูหนวกเสียเปรียบหากไม่มีเอกสารเป็นอักษรเบลล์และล่ามภาษามือ ตามลำดับ ครั้นเมื่อต้องการใช้ห้องน้ำ คนหูหนวกไม่มีปัญหา คนตาบอดอาจใช้คนนำทางหรือ ไม้เท้านำทางไป แต่ถ้าประตูห้องน้ำแคบหรือตัวห้องน้ำแคบ คนพิการนั่งรถเข็นจะเกิด ความเสียเปรียบขึ้นอีกครั้งหนึ่งตามการประเมินขององค์การสหประชาชาติ ประเทศ กำลังพัฒนารวม ทั้งประเทศไทย มีคนพิการทุกประเภท

“สรุป 5 ข่าวที่เกี่ยวข้องกับคนพิการ

๑.รายงานการดำเนินงานว่าด้วยสิทธิคนพิการอนุสัญญาคนพิการที่กรุงเจนิว่าประเทศสวิตเซอร์แลนด์

“การพัฒนาผลิตภัณฑ์และตราสินค้าของคนพิการ”

        กระทรวงการพัฒนาสังคมฯ ได้ขับเคลื่อนนโยบายการพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ จากการเปลี่ยนภาระให้เป็นพลัง อีกทั้ง ยังได้กำหนดยุทธศาสตร์สู่การพัฒนาที่ยั่งยืน โดยไม่ทอดทิ้งใครไว้ข้างหลัง (No one left behind) ด้วยการจัดทำชุมชนต้นแบบอารยสถาปัตย์ โครงการจากถนนสู่ดวงดาว การจ้างงานคนพิการในชุมชนตามแนวทางประชารัฐเพื่อสังคม จำนวน 100,000 คน และการพัฒนามาตรฐานผลิตภัณฑ์คนพิการให้เทียบเท่ากับธุรกิจทั่วไป

“มิสเจเนวีฟ คอลฟีลด์”

        ในปี พ.ศ.

นักวิ่งตาบอดเข้าแข่งขันนิวยอร์กมาราธอน ด้วยเทคโนโลยีนำทางซึ่งบอกเส้นทางแทนคนนำวิ่ง

        นักวิ่งตาบอดตั้งเป้าเป็นคนตาบอดคนแรกที่เข้าร่วมแข่งขันนิวยอร์กมาราธอนในสหรัฐอเมริกา ด้วยเทคโนโลยีช่วยนำทางแทนคนนำวิ่ง

       ไซมอน เวทครอฟท์ ลงแข่งขันในการวิ่งนิวยอร์กมาราธอน 2017 ที่จัดขึ้นในวันอาทิตย์ที่ 5 พ.ย. เวทครอฟท์เป็นคนพิการทางการมองเห็นจากสาเหตุของโรคตาเสื่อม เขาเป็นนักวิ่งพิการทางสายตาที่ไม่ได้วิ่งไปพร้อมกับคนนำวิ่ง แต่ใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ในการนำทาง เพื่อแจ้งเตือนให้เขารู้ว่า มีสิ่งกีดขวางอยู่ข้างหน้าเส้นทางที่เขาวิ่งหรือไม่ (ดูคลิปวิดีโอ ที่นี่)

“มาตรฐานองค์กรคนพิการ”

        ประเภทองค์กรที่ขอรับรองมาตรฐาน ๑) องค์กรของคนพิการ คือ องค์กรที่มีคนพิการหรือผู้ดูแลคนพิการเป็นสมาชิกและ   เป็นกรรมการบริหารองค์กรไม่น้อยกว่าสองในสามของกรรมการทั้งหมด ตลอดจนมีอำนาจตัดสินใจในการดำเนินงานเพื่อคุ้มครองสิทธิของคนพิการด้วย ๒) องค์กรเพื่อคนพิการ คือ องค์กรที่มีวัตถุประสงค์หรือกิจการหลักเกี่ยวกับการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการและมิใช่หน่วยงานภาครัฐ ๓) องค์กรอื่นใดที่บริการแก่คนพิการ คือ หน่วยงานของรัฐ องค์กรภาคเอกชน หรือองค์กรอื่นใดที่ให้บริการแก่คนพิการตามที่คณะกรรมการกำหนด

นอกจากสะดวกสบาย อุปกรณ์สมาร์ทโฮมยังช่วยให้คนพิการใช้ชีวิตง่ายขึ้น

         อุปกรณ์สมาร์ทโฮมมักถูกโฆษณาในเรื่องของความสะดวกสบายที่ผู้ใช้จะได้รับแต่นอกจากนั้นอุปกรณ์เหล่านี้ยังสามารถช่วยให้คนพิการสามารถใช้ชีวิตได้อย่างมีอิสระมากขึ้น

เมื่อเชื่อมต่อไวไฟหรือเทคโนโลยีอื่นที่มีในบริเวณบ้าน อุปกรณ์สมาร์ทโฮมก็จะสามารถควบคุมผ่านแผงระบบสัมผัสหรือแม้แต่ทางแอปพลิเคชันต่างๆ เทคโนโลยีต่างๆ เหล่านี้ไม่ใช่เทคโนโลยีที่เพิ่งเกิดขึ้นใหม่ แต่เป็นเทคโนโลยีที่เจอได้ในอุปกรณ์อำนวยความสะดวกอยู่แล้ว

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชฯ ผู้ทรงเป็นอัครศิลปิน “คีตราชัน”

             หีบดนตรี ที่พระองค์ได้สั่งนำเข้ามาจาก สวิตเซอร์แลนด์ ตั้งแต่ปี ๒๔๙๔  ตอนนั้นเป็นสิ่งที่แปลกประหลาดเป็นสิ่งที่พวกเราดีใจมาก วิทยุก็ยังไม่มีอะไร ท่านรู้ว่าพวกเราคนตาบอดชอบดนตรีมาก พระองค์พระราชทานโดยสั่งมาจากประเทศสวิตเซอร์แลนด์  Music Box มีทั้งหมด ๘ เพลง และต้องไขลานจนเต็มสามารถเล่นได้ ๑๕ นาที บนฝาได้จารึกพระปรมาภิไธย  ภ.อ. คือ ภูมิพลอดุลยเดช และ ส.ก.  คือ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ และในปีเดียวกันนี้พระองค์ได้พระราชทานพระราชนิพนธ์ เพลงยิ้มสู้ ซึ่งก็โด่งดังมาจนถึงทุกวันนี้ 

“พระมหากรุณาธิคุณของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช”

        กระผมเกิดมาพิการ และได้เข้าเรียนที่โรงเรียนศรีสังวาลที่สมเด็จย่าทรงเป็นองค์อุปถัมภ์คือจุดที่ทำให้กระผมสามารถดำเนินชีวิตได้มาจนถึงทุกวันนี้  และได้รับพระมหากรุณาธิคุณจากพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ ๙  เมื่อเอ่ยถึงพระนามของพระองค์จะ อยู่ในความรู้สึกที่ไม่สามารถอธิบายออกมาเป็นคำพูดได้ ตั้งแต่ผมเด็กๆ ช่วงเดือนธันวาคม เราจะได้ฟังเพลงพระราชนิพนธ์ แล้วกระผมก็จะชอบมากบรรยากาศในช่วงเวลานั้น จะฟังเพลงพระราชนิพนธ์ตามวิทยุ พูดถึงพระราชประวัติ พูดถึงพระราชกรณียกิจ พูดถึงสิ่งที่พระองค์ท่านได้ทรงทำเพื่อประชาชนคนไทย

เพลง "ทำดีเพื่อพ่อ" และร้องเพื่อถวายความอาลัยแด่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

         นายสรรพสิทธิ์ ถือพุดซา หรือ หมิง 100 เสียง อายุ 26 ปี ศิลปินหนุ่มพิการตาบอด ชาว จ.นครราชสีมา ปัจจุบันเป็นนักศึกษาคณะครุศาสตร์ ชั้นปีที่ 5 มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา ได้แต่งเพลง "ทำดีเพื่อพ่อ" และร้องเพื่อถวายความอาลัยแด่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (ร.9)

หน้า

^ กลับสู่เนื้อหาหลัก