ขณะนี้คุณอยู่ที่ ›

“น้องยิ้ม” เก้าอี้บำบัดเด็กพิการทางสมอง

เก้าอี้บำบัดเด็กพิการทางสมอง
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบ มจธ. ฉีกกฎความตึงเครียดในการทำกายภาพบำบัด ออกแบบ “น้องยิ้ม” เก้าอี้หน้าตาสดใสที่ชักชวนให้เด็กพิการทางสมองมาบำบัดด้วยความสนุกสนาน
 
 

มจธ.พัฒนาเครื่องสแกน “เด็กพิการทางสมอง” จากการทรงท่า

เครื่องสแกนการทรงท่าของเด็กทารก คัดกรองเด็กพัฒนาช้าหรือพิการทางสมอง นักวิจัย มจธ.พัฒนาเครื่องสแกนการทรงท่าของเด็กทารก คัดกรองเด็กพัฒนาช้าหรือพิการทางสมอง หลังเห็นความสำคัญว่าการคัดกรองได้เร็ว ช่วยลดความพิการถาวรลงได้ และแก้ปัญหาการขาดแคลนแพทย์ผู้มีประสบการณ์ในการสังเกตการทรงท่าของทารก 
       

ห้ามพลาด! 10 เรื่องเร็วปี๊ด 4G ดี-ร้าย เปลี่ยนโฉมหน้าประวัติศาสตร์ที่คนไทยควรรู้

 

รวม 10 เรื่อง ทั้งดีและร้าย ต้อนรับการมาของ 4จี หลังจากประเทศไทยได้เปิดประมูลคลื่นความถี่ 1800MHz เป็นครั้งแรกในวันนี้…

 

ถึงเวลาที่แวดวงโทรคมนาคมบ้านเราจะระเบิดศึก เปิดประวัติศาสตร์สำคัญอีกครั้งหนึ่ง กับ…การประมูลคลื่นความถี่ย่าน 1800 เมกะเฮิรตซ์ หรือที่เรียกกันทั่วไปว่าการประมูลคลื่น 1800 นั่นเอง หากมองจากมุมผู้บริโภคซึ่งเป็นเพียงผู้ใช้งานเทคโนโลยีปลายทาง นี่อาจไม่ใช่เรื่องตื่นเต้น ที่จะทำให้คุณอยากรับรู้รายละเอียดหรือขั้นตอนต่างๆ ที่กำลังจะถูกจารึกเป็นประวัติศาสตร์หน้าใหม่ ในวันนี้ (11 พ.ย.2558)

 

ฝังอุปกรณ์ในก้านสมอง ทางเลือกใหม่ช่วยเด็กหูหนวก

นักวิจัยจากมหาวิทยาลัยเซาเธิร์นแคโรไลนาของสหรัฐ ทดลองใช้วิธีการฝั้งขั้วไฟฟ้ารับสัญญาณลงในก้านสมอง เพื่อช่วยให้เด็กหูหนวกได้ยินเสียง ซึ่งเป็นวิธีการที่ก้าวหน้ากว่าประสาทหูเทียม

 

ฝังอุปกรณ์ในก้านสมอง ทางเลือกใหม่ช่วยเด็กหูหนวก | เดลินิวส์

ประกวดนวัตกรรมเทคโนโลยี สำหรับคนพิการ

เป็นที่ทราบกันดีว่าผู้พิการนั้นมีข้อจำกัดในการดำรงชีวิต ซึ่งถึงแม้ว่าปัจจุบันจะมีสิ่งอำนวยความสะดวกจำนวนมากที่พัฒนาขึ้นเพื่อช่วยเหลือผู้พิการแต่ก็ยังไม่เพียงพอ และจากสถิติพบว่าจำนวนผู้บกพร่องทางการเห็นที่ลงทะเบียนกับกรมส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการสูงถึง 189,407 คน ถือว่าเป็นตัวเลขที่สูงมากและมีจำนวนเพิ่มขึ้นทุกปี ดังนั้น บริษัท ซีเกท เทคโนโลยี (ประเทศไทย) จำกัด จึงร่วมมือกับ สมาคมวิชาการหุ่นยนต์แห่งประเทศไทย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) และมูลนิธิช่วยคนตาบอดแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชินูปถัมภ์ เพื่อเปิดโอกาสให้คนรุ่นใหม่ได้ใช้ความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื

Toyota Ecoful Town ชุมชนเทคโนโลยีเพื่อสิ่งแวดล้อมโตโยต้า

ค่ายรถยนต์ยักษ์ใหญ่โตโยต้า เปิดบ้านต้อนรับคณะสื่อมวลชนไทยเข้าเยี่ยมชม ชุมชนเทคโนโลยีเพื่อสิ่งแวดล้อมโตโยต้า-Toyota Ecoful Town ณ เมืองโตโยต้า เขตไอจิ ประเทศญี่ปุ่น

 

โตโยต้า อีโคฟูล ทาวน์-Toyota Ecoful Town เป็นเมืองจำลองที่ผสานการใช้พลังงานระหว่างรถยนต์ คน และที่อยู่

กำเนิดร่มพันธุ์ใหม่ ผู้ใช้พิมพ์ข้อความกลางสายฝนได้

เจ้าพ่อเทเลคอมเกาหลีใต้ “เคที (KT Corp.)” เปิดตัวร่มดีไซน์ใหม่ที่ช่วยให้ผู้ใช้สามารถปล่อยมือ 2 ข้างเพื่อถือจับและกดพิมพ์ข้อความบนหน้าจอโทรศัพท์เคลื่อนที่ได้ท่ามกลางสายฝน ขณะที่ผู้พิการหรือผู้ป่วยกระดูกขาหักก็สามารถใช้แขนและไหล่ประคองร่มไว้ เพื่อให้อีกมือสามารถถือจับโทรศัพท์ได้เช่นกัน

       

       สิ่งที่ทำให้ร่มนี้สามารถใช้”แขน”ถือแทนมือได้คือการเปลี่ยนด้ามจับร่มเป็นรูปอักษร C แทนที่จะเป็น J โดยร่มนี้ถูกตั้งชื่อว่า “โฟน เบรลลา (Phone-brella)”

       

เก้าอี้ทำฟันพลังงานลม สิ่งประดิษฐ์ “ไทยทำ-ไทยใช้”

นโยบายหนึ่งที่ พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี เดินหน้าสนับสนุน คือ ผลักดันให้นำนวัตกรรมการแพทย์และสาธารณสุขฝีมือคนไทยมาสู่การใช้งานจริง เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการวิจัยด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุข ลดการนำเข้าสินค้าทางการแพทย์จากต่างประเทศ ซึ่งจะช่วยประหยัดงบประมาณไปได้อย่างมหาศาล

 

       

       เรียกได้ว่า วิจัยโดยคนไทย ผลิตและใช้ในประเทศ

       

อาเซียนในปีที่ 48 จากสมาคมสู่ประชาคม

ย้อนกลับไปเมื่อปี 2510 ดร.ถนัด คอมันตร์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของไทย ในขณะนั้น ได้ชักชวนรัฐมนตรีจากมิตรประเทศ ได้แก่ อินโดนีเซีย สิงคโปร์ มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ มาร่วมหารือกัน ณ บ้านพักตากอากาศที่แหลมแท่น ต.บางแสน อ.เมือง จ.ชลบุรี เกี่ยวกับสถานการณ์ทางการเมืองและความมั่นคงในภูมิภาค การหารือดังกล่าวนำไปสู่การลงนามในปฏิญญากรุงเทพ (Bangkok Declaration) หรือ ปฏิญญาอาเซียน (ASEAN Declaration) ในวันที่ 8 สิงหาคม 2510 ณ วังสราญรมย์ เพื่อจัดตั้งสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ หรือ อาเซียน (The Association of Southeast Asian Nations - ASEAN) โดยดร.ถนัดฯ ได้กล่าวสุนทรพจน์ในโอกาสดัง

ม.มหิดลเจ๋ง!! ร่วมพัฒนาอุปกรณ์สุดคูล 'My Eye Memory' ส่งต่อความสุขให้ผู้พิการทางสายตา

 ผลงานนวัตกรรมฝีมือคนไทย My Eye Memory หรือ (MeM) อุปกรณ์จดจำมาตรฐานระดับสากล โดยครอบครัวเจียรวนนท์ ย้ำเจตนารมณ์การเป็น “ผู้ให้” แก่ผู้ขาดโอกาสทางสังคม ตามดำริของท่านประธานธนินท์ และคุณหญิงเทวี เจียรวนนท์ ร่วมกับมหาวิทยาลัยมหิดล และบมจ. ทรู คอร์ปอเรชั่น โดยทรู อินโนเวชั่น ที่จะช่วยให้ผู้พิการทางสายตา สามารถติดต่อสื่อสารกับคนในสังคมได้อย่างสะดวก รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น 

        

หน้า

^ กลับสู่เนื้อหาหลัก