ขณะนี้คุณอยู่ที่ ›

“ทำอย่างไรให้องค์กรคนพิการสร้างประโยชน์สูงสุดต่อคนพิการ ตอน 2”

“ทำอย่างไรให้องค์กรคนพิการสร้างประโยชน์สูงสุดต่อคนพิการ ตอน 2”

          การทำงานเพื่อมุ่งไปสู่ความสำเร็จนั้นประกอบด้วยหลาย ๆ ปัจจัย หนึ่งในนั้น คือ บุคลากร หรือ คนทำงานที่จะทำให้ผลสำเร็จของงานเกิดขึ้น แต่คน ๆ เดียวไม่สามารถทำให้งานสำเร็จผลได้ การรวมตัวของคนพิการหลาย ๆ คนเพื่อทำงานเป็นทีม จึงเป็นทางออกที่ดีที่สุดของการทำงาน

“ทำอย่างไรให้องค์กรคนพิการสร้างประโยชน์สูงสุดต่อคนพิการ ตอน 1”

“ทำอย่างไรให้องค์กรคนพิการสร้างประโยชน์สูงสุดต่อคนพิการ ตอน 1”

           คุณดำรงไชย กล่าวว่า การจัดประชุมสมัชชาคนพิการจังหวัดอ่างทอง ครั้งที่ 1 ทั้ง อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) อาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (อพม.) และหน่วยงานท้องถิ่น ร่วมรับฟังปัญหาของคนพิการ และช่วยกันวิเคราะห์แก้ไข เพราะคนพิการหลายคนเก่ง มีแนวทางการในแก้ปัญหาเพื่อเข้าถึง เรื่องของการเข้าถึงสิทธิระบบบริการอันเป็นสาธารณะของคนพิการหรือผู้ดูแลคนพิการ

“นักพยากรณ์ดวงชะตาตาบอด”

          คุณสุทัศน์ เล่าว่า ผมตาบอดตั้งแต่กำเนิด ทางบ้านเป็นห่วงมาก ไม่ให้ออกข้างนอก ไม่ได้เรียน จนอายุ 17 ปี ถือเป็นจุดเปลี่ยนที่บอกทางบ้านว่า ไม่ไหวแล้วต้องหาอะไรทำ เรียน หรือฝึกอาชีพ เพื่อจะได้เป็นที่พึ่งของตัวเองและครอบครัวได้ เพราะรู้ว่าทุกสิ่งทุกอย่างเปลี่ยนแปลงไป ไม่มีใครมาดูแลเราไปตลอด เป็นสิ่งที่ยากที่ต้องต่อสู้กับตัวเอง เพราะกลัวรถ กลัวตกหลุม แต่เมื่อได้ออกมาฝึกที่ มูลนิธิคอลฟิลด์ ได้อบรมเรื่องการใช้ไม้เท้าขาว การช่วยเหลือตัวเองในชีวิตประจำวัน ทำให้มีความมั่นใจมากขึ้น สามารถพึ่งพาตัวเองได้ สิ่งที่ยากที่สุดคือ เราต้องต่อสู้กับความรู้สึกตัวเอง

“นักพยากรณ์ดวงชะตาตาบอด”

          คุณสุทัศน์ เล่าว่า ผมตาบอดตั้งแต่กำเนิด ทางบ้านเป็นห่วงมาก ไม่ให้ออกข้างนอก ไม่ได้เรียน จนอายุ 17 ปี ถือเป็นจุดเปลี่ยนที่บอกทางบ้านว่า ไม่ไหวแล้วต้องหาอะไรทำ เรียน หรือฝึกอาชีพ เพื่อจะได้เป็นที่พึ่งของตัวเองและครอบครัวได้ เพราะรู้ว่าทุกสิ่งทุกอย่างเปลี่ยนแปลงไป ไม่มีใครมาดูแลเราไปตลอด เป็นสิ่งที่ยากที่ต้องต่อสู้กับตัวเอง เพราะกลัวรถ กลัวตกหลุม แต่เมื่อได้ออกมาฝึกที่ มูลนิธิคอลฟิลด์ ได้อบรมเรื่องการใช้ไม้เท้าขาว การช่วยเหลือตัวเองในชีวิตประจำวัน ทำให้มีความมั่นใจมากขึ้น สามารถพึ่งพาตัวเองได้ สิ่งที่ยากที่สุดคือ เราต้องต่อสู้กับความรู้สึกตัวเอง

“การดำเนินงานศูนย์บริการคนพิการทั่วไป ตอน 2

“การดำเนินงานศูนย์บริการคนพิการทั่วไป ตอน 2

คุณสุชาติ กล่าวถึง สิ่งที่อยากเห็นในศูนย์บริการคนพิการทั่วไป ว่า

จอยเพื่อผู้พิการ "Access Controller" พร้อมวางจำหน่าย 6 ธ.ค.นี้

 

โซนี่ ประกาศวางจำหน่ายจอยคอนโทรลเลอร์เพื่อผู้ที่มีความบกพร่องทางร่างกาย "Access Controller" สำหรับ PlayStation 5 ในวันที่ 6 ธันวาคมนี้

 

Futto อุปกรณ์ยางยืดช่วยพยุงตัวผู้ป่วยพักฟื้นและผู้พิการ

          นักออกแบบชาวญี่ปุ่นโยชิฮิโร ยามาดา (Yoshihiro Yamada) เปิดตัวผลงานการออกแบบใหม่ล่าสุดฟูโต๊ะ (Futto) อุปกรณ์ยางยืดช่วยพยุงตัวผู้ป่วยพักฟื้นและผู้พิการ รองรับการสวมใส่เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของกล้ามเนื้อขาทั้งข้างซ้ายและขวา โดยเฉพาะผู้ที่กำลังพักฟื้นหรือบาดเจ็บจากการเล่นกีฬา รวมไปถึงกลุ่มผู้สูงอายุโดยต้องอยู่ภายใต้คำแนะนำของนักกายภาพบำบัดและผู้เชี่ยวชาญ

“การดำเนินงานศูนย์บริการคนพิการทั่วไป ตอน 1”

“การดำเนินงานศูนย์บริการคนพิการทั่วไป ตอน 1”
          คุณสุชาติ กล่าวว่า ทางสมาคมผู้ปกครองคนพิการทางสติปัญญามีสมาชิก 105 ชมรม และมีนโยบายผลักดันให้ชมรมได้รับมาตรฐานองค์กรก่อน หลังจากนั้นตั้งใจให้เป็นศูนย์บริการคนพิการทั่วไปประจำจังหวัด โดยร่วมกับมูลนิธิสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการแห่งประเทศไทย และสำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ ประชุมและทำการวิจัยเพื่อตอบโจทย์คนพิการ ว่าในศูนย์บริการ ควรมีอะไรบ้าง

“คนพิการกับสื่ออนไลน์ ”

“คนพิการกับสื่ออนไลน์ ”

          ดร.สุภรธรรม กล่าวว่า งานในความรับผิดชอบตอนนี้คือ ทางมูลนิธิพระมหาไถ่เพื่อคนพิการตอนนี้ มีสถาบันการศึกษาที่อยู่ในความดูแล 4 แห่ง วิทยาลัยเทคโนโลยีพระมหาไถ่ พัทยา , วิทยาลัยเทคโนโลยีพระมหาไถ่หนองคาย โรงเรียนสอนคนตาบอดพระมหาไถ่ และโรงเรียนเด็กพิเศษคุณพ่อเรย์และศูนย์พัฒนาการเด็กพิเศษ หน้าที่คือ สนับสนุนให้สถานศึกษาทั้ง 4 แห่งดำเนินกิจการได้อย่างมีประสิทธิภาพ เช่น ตอนนี้ทั้ง 4 สถานศึกษากำลังประสบปัญหาการแพร่ระบาดของโควิด – 19  กระบวนการจัดการเรียนการสอนถูกบังคับด้วยสภาพแวดล้อมและกฎระเบียบ ต้องสอนออนไลน์ ซึ่งมีความยาก คนพิการโดยพื้นฐานที่มาเรียนที่สถานศึกษาต้นทุนต่ำ เมื่อต้องจัดการเรียน

“เส้นทางสู่การทำงานในองค์กรของสหประชาชาติ ของคนตาบอด”

ธงองค์การสหประชาชาติ

          คุณณิชกานต์ เล่าว่า เป็นคนกรุงเทพฯ และเป็นคนพิการทางการเห็น ตาบอดตั้งแต่กำเนิดโดยไม่สาเหตุ ปัจจุบันทำงานที่ UNDP หรือ โครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ สำหรับประเทศไทย ตำแหน่ง โปรแกรมแอสโซซิเอส หลัก ๆ คือดูงานเรื่องคนพิการ เรื่องการศึกษาตอนเด็ก ๆ เรียนที่ศูนย์ EI ซี่งเรียนร่วมกับคนทั่วไป แล้วพบว่าไม่ได้มีส่วนร่วมในห้องเรียน เพราะไม่สามารถเขียนอักษรไทยได้ ที่บ้านได้ข้อมูลจึงส่งเข้าเรียนที่โรงเรียนสอนคนตาบอดกรุงเทพฯ ตอนประถมศึกษา หลังจากนั้นศึกษาต่อที่ โรงเรียนเซนต์ฟรังซิสซาเวียร์คอนแวนต์ ในชั้นมัธยมศึกษาซึ่งเป็นรุ่นแรกที่เข้าไปศึกษา ต้องมีการปรับตัวหลายอย่าง เนื่องจากเอกสารไม่มีอักษรเบรล

หน้า

^ กลับสู่เนื้อหาหลัก