ขณะนี้คุณอยู่ที่ ›

“การขับเคลื่อนงานของเครือข่ายคนพิการรักสุขภาพ (ตอนที่ 1)”

การขับเคลื่อนงานของเครือข่ายคนพิการรักสุขภาพ (ตอนที่ 1)

          คุณวันเสาร์ ไชยกุล เล่าถึงที่มาของ เครือข่ายคนพิการรักสุขภาพ ว่า เกิดขึ้นตั้งแต่สมัยพันโทต่อพงษ์ กุลครรชิต อดีตหัวหน้าสำนักงานองค์การคนพิการสากลประจำภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก และ อาจารย์ณรงค์ ปฏิบัติสรกิจ อดีต สว.คนพิการ ที่ดำเนินการเรื่องหลักประกัน ต่อมาถึงเรื่องสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ  ประมาณปี 2560 มีการติดต่อประสานงานขอความร่วมมือร่วมใจจัดตั้งเป็น เครือข่ายคนพิการรักสุขภาพ ในช่วงนั้นทำเป็นโปรเจ็ค เป็นการพูดคุยแลกเปลี่ยน ช่วยเหลือ สนับสนุน เพื่อนคนพิการ ภายใต้แนวคิด “เพื่อนช่วยเพื่อน” มาจากวิธีคิดของคุณหมอสงวน (นายแพทย์สงวน นิตยารัมภ์พงศ์ เป็นนายแพทย์ที่มีผลงานดีเด่นในการบุกเบิกและผลัก

“ภาพรวมของการขับเคลื่อนงานสมาคมเพื่อผู้บกพร่องทางจิตแห่งประเทศไทย”

ภาพรวมของการขับเคลื่อนงานสมาคมเพื่อผู้บกพร่องทางจิตแห่งประเทศไทย

          คุณนุชจารี กล่าวว่า บทบาทของสมาคมฯ เป็นเรื่องการพิทักษ์สิทธิ การช่วยเหลือ การฟื้นฟู และการแก้ปัญหาเพื่อให้คนพิการสามารถเข้าถึงสิทธิได้ เรื่องการขยายเครือข่ายให้สามารถครอบคลุมทั้งตำบล อำเภอให้มากขึ้น เพื่อได้มีคนมาช่วยสมาคมฯ ดูแลช่วยเหลือคนพิการทางจิต นอกจากระดับตำบลอำเภอ ยังมีเรื่องของระดับชาติ มีการรวมกลุ่มแกนนำในแต่ละจังหวัดของแต่ละภาครวมกลุ่มกัน เพื่อให้ภาคเป็นพี่เลี้ยงดูแลช่วยเหลือจังหวัดในภาคของตัวเอง เพื่อให้คนพิการเข้าถึงสิทธิเพิ่มมากขึ้น เพราะมองว่าศูนย์จังหวัดที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายมีทุกจังหวัด แต่ศูนย์ที่ทำให้คนพิการใกล้ชิดและเข้าถึง คือ ศูนย์ที่เกิดจากองค์กรคนพิการที่เข้าใ

หุ่นยนต์สุนัขนำทาง เพื่อนใหม่ของผู้พิการทางสายตา

          ปัจจุบันนี้เราเริ่มเห็นการใช้งานหุ่นยนต์สุนัข 4 ขาในหลากหลายอุตสาหกรรมมากขึ้น และล่าสุดเจ้าหุ่นยนต์สุนัขประเภทนี้ กำลังจะมีหน้าที่ใหม่ ด้วยการกลายเป็นดวงตาให้กับคนตาบอด ทำหน้าที่เป็น “สุนัขนำทาง” ช่วยพาผู้พิการทางสายตา เดินทางไปยังจุดต่าง ๆ ซึ่งนอกจากจะไม่ต้องกังวลเรื่องการใช้แรงงานสัตว์เหมือนกับสุนัขนำทางแล้ว เรายังสามารถโปรแกรมแผนที่จุดหมายได้ง่าย ทำได้สะดวกสบาย และไม่ต้องใช้เวลาฝึกนำทางนานอีกด้วย

“บทบาทของทูตอารยสถาปัตย์ในการส่งเสริมการจัดสิ่งอำนวยความสะดวกฯ ตอนที่ 2”

“บทบาทของทูตอารยสถาปัตย์ในการส่งเสริมการจัดสิ่งอำนวยความสะดวกฯ ตอนที่ 1”

บทบาทของทูตอารยสถาปัตย์ในการส่งเสริมการจัดสิ่งอำนวยความสะดวกฯ ตอนที่ 1

          คุณปิยะบุตร เล่าที่มาว่า เริ่มแรกต้องขอบคุณ คุณกฤษณะ ละไล ผู้ก่อตั้งมูลนิธิอารยสถาปัตย์เพื่อคนทั้งมวล และคณะกรรมการผู้ใหญ่ ที่ร่วมก่อตั้งมูลนิธิฯ เช่น คุณวรยุทธ  กิจกูล ประธานบริษัทสยามนิชชิน เป็นต้น การส่งเสริมให้มีการจัดสิ่งอำนวยความสะดวกในสถานที่ท่องเที่ยว หรือ สถานที่สาธารณะ เช่น วัด ปั๊มน้ำมัน โรงแรม ตลาดนัด ทุกที่ที่คนไม่พิการไปได้ ไม่ใช่เฉพาะมนุษย์ล้อ

“เพศศึกษากับคนพิการ ตอนที่ 2”

“เพศศึกษากับคนพิการ ตอนที่ 2”

          เทิดเกียรติ  ฉายจรุง เล่าว่า การสร้างครอบครัวของคนพิการ คนพิการไม่มีใครรักเราจริง เพราะฉะนั้นไม่ควรมีแฟน ไม่ควรมีครอบครัว เป็นคำเตือนที่อิงประวัติศาสตร์ ศาสนา นิทาน คนพิการจะได้รับการสงเคราะห์ การมองในมุมของเวทนานิยม ในบ้านเราถูกปลูกฝั่งในเรื่องศาสนา การให้การสงเคราะห์กลุ่มคนที่ด้อยกว่า แต่ในปัจจุบันคนพิการออกมาทำงานมากขึ้น มีอิสระในการใช้ชีวิต Indepemdent Living สามารถพิสูจน์ได้ ซึ่งคนพิการไม่จำเป็นต้องอาศัยวัด สถานสงเคราะห์ แต่หลาย ๆ คนพยายามดิ้นรนเพื่อดูแลตัวเองได้ สามารถออกนอกกรอบที่เคยสร้างไว้ได้ ด้วยเหตุนี้ ทำไมคนพิการไม่ควรมีครอบครัว การปรับเปลี่ยนเจตคติ ทัศนคติ แนวคิดใหม่

“เพศศึกษากับคนพิการ ตอนที่ 1”

เพศศึกษากับคนพิการ ตอนที่ 1

          เทิดเกียรติ  ฉายจรุง กล่าวว่า เพศศึกษา หมายถึง เรื่องของธรรมชาติที่เกิดขึ้นแต่กลับกัน ขัดกับความละเอียดของคนบางกลุ่มบางคนที่รู้สึกว่ามันเป็นสิ่งที่มันสกปรก น่าอับอายขายหน้า ในบางประเทศกราบไหว้ ศิวลึงค์ เป็นตัวแทนของมนุษย์ ประเทศญี่ปุ่นมีแห่รอบบ้านรอบเมือง เรื่องการสร้างมนุษย์ สามารถมองถึงสิ่งที่ทำให้คนเกิดก่อนได้ แม้กระทั่งประเทศไทยในปัจจุบัน มีปลัดขิกแขวนอยู่รอบบ้านรอบเมือง การพูดเรื่องสิ่งเหล่านี้เป็นด้านวิชาการ พ่อพูดกับลูก แม่พูดกับลูกสาว เป็นเรื่องน่าเกลียด ลามก อนาจาร ในฐานะของความเป็นนักจิตวิทยา ในเรื่องนี้ถูกสั่งสอนมาตั้งแต่ในรูปทฤษฎีจิตวิเคราะห์ของฟรอยด์ ซิกมุนด์ ฟรอยด์ (

“เกษตรกรคนตาบอด”

“เกษตรกรคนตาบอด”

          คุณจิรวรรต เล่าว่า อาศัยอยู่ที่ ต.บ้านโป่ง อ.หางดง จ.เชียงใหม่ เข้ารับการศึกษาที่ โรงเรียนสอนคนตาบอดภาคเหนือจังหวัดเชียงใหม่ ในระดับชั้นประถม แล้วต่อมัธยมต้นที่กรุงเทพฯ หลังจบการศึกษา ม.3 ได้เริ่มประกอบอาชีพเกษตรกรรม และได้ศึกษาเกี่ยวกับการเกษตรควบคู่ไปด้วย จนเกิดความรู้ ความชำนาญ รวมกับประสบการณ์ที่ได้สะสมมาจากการไปเสวนาในที่ต่าง ๆ ในวัยเด็กผมเกิดอาการตาแดงขั้นอันตราย และยังเกิดอุบัติเหตุจากการเล่นฟุตบอล โดยถูกลูกฟุตบอลเตะเข้าตาอีกข้าง เป็นผลให้ดวงตาทั้งสองข้างไม่สามารถมองเห็นได้

“ความร่วมมือกับภาคธุรกิจและการยกระดับฝีมือแรงงาน”

“ความร่วมมือกับภาคธุรกิจและการยกระดับฝีมือแรงงาน”
          อาจารย์ชูศักดิ์ กล่าวว่า กลุ่มเซ็นทรัลร่วมมือกับศิลปินออทิสติก ออกแบบสินค้าภายใต้แบรนด์ กู๊ด กู๊ดส์ (good goods) แหล่งรวมสินค้าผลิตภัณฑ์จากภูมิปัญญาคนไทยสืบสานต่อยอดด้วยการเพิ่มคุณค่างานหัตถกรรม โดย “Central Tham” (เซ็นทรัล ทำ) ที่เข้าไปพัฒนารูปแบบสินค้า ถ่ายทอดงานดีไซน์ให้ดูร่วมสมัย เป็นที่ต้องการของคนไทยและนักท่องเที่ยวจากทุกมุมโลก ก่อให้เกิดความยั่งยืนในแต่ละชุมชนตั้งแต่เหนือจรดใต้ สินค้าแนะนำอย่างเช่น ตะกร้าสานพลาสติก สีสันสดใส ฝีมือคนพิการ จังหวัดอุดรธานี เสื้อเชิ้ตทรงฮาวาย ผลิตจากผ้าไหมอิตาลี ออกแบบโดยศิลปินกลุ่มบุคคลที่มีความต้องการพิเศษจากมูลนิธิ ณ กิตติคุณ สินค้าคอลเลคช

“วันออทิสติกโลก”

วันออทิสติกโลก

          อาจารย์ชูศักดิ์ กล่าวว่า วันที่ 2 เมษายนของทุกปี เป็น วันออทิสติกโลก  World Autism Awareness day  หรือ วันตระหนักรู้ออทิสติกโลก ที่มาเมื่อประมาณ 10 ปีที่แล้ว องค์การสหประชาชาติ (UN) มีการประชุมวาระพิเศษเรื่องคนพิการ และมีประเด็นของบุคคลออทิสติกที่ยังต้องการการเข้าถึงบริการต่าง ๆ ตามอนุสัญญาว่าด้วยสิทธิคนพิการ (CRPD) และได้มีมติว่า กลุ่มออทิสติกยังไม่ค่อยเป็นที่ตระหนักรู้ในสังคมเท่าไหร่ โดยเฉพาะรัฐบาลประเทศต่าง ๆ ยังไม่มีแนวคิดหรือนโยบาย โดยเฉพาะในปีนี้ ทาง UN ได้ตั้งประเด็น อย่าให้คนออทิสติกที่มีงานทำต้องตกงาน     เรื่องของการมีงานทำในหน่วยงานหรือสถานประกอบการหลังช่วงโควิด

หน้า

^ กลับสู่เนื้อหาหลัก