ขณะนี้คุณอยู่ที่ ›

“เส้นทางสู่การทำงานในองค์กรของสหประชาชาติ ของคนตาบอด”

“เส้นทางสู่การทำงานในองค์กรของสหประชาชาติ ของคนตาบอด”

          คุณณิชกานต์ เล่าว่า เป็นคนกรุงเทพฯ และเป็นคนพิการทางการเห็น ตาบอดตั้งแต่กำเนิดโดยไม่สาเหตุ ปัจจุบันทำงานที่ UNDP หรือ โครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ สำหรับประเทศไทย ตำแหน่ง โปรแกรมแอสโซซิเอส หลัก ๆ คือดูงานเรื่องคนพิการ เรื่องการศึกษาตอนเด็ก ๆ เรียนที่ศูนย์ EI ซี่งเรียนร่วมกับคนทั่วไป แล้วพบว่าไม่ได้มีส่วนร่วมในห้องเรียน เพราะไม่สามารถเขียนอักษรไทยได้ ที่บ้านได้ศึกษาหาข้อมูลเพิ่มเต็มและส่งเข้าเรียนที่โรงเรียนสอนคนตาบอดกรุงเทพฯ ตอนประถมศึกษา หลังจากนั้นศึกษาต่อที่ โรงเรียนเซนต์ฟรังซิสซาเวียร์คอนแวนต์ ในชั้นมัธยมศึกษาซึ่งเป็นรุ่นแรกที่เข้าไปศึกษา ต้องมีการปรับตัวหลายอย่าง เนื่องจากเอกส

“ปรากฏการณ์ของชีวิต”

ปรากฏการณ์ของชีวิต

          คุณสมพร  สายกลิ่น เล่าว่า ตนเองเกิดที่ จ.บุรีรัมย์ มีพี่น้อง 3 คน มีน้องสาว 2 คน ตนเป็นพี่คนโต เรียนจบปริญญาตรี ที่ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี คณะเกษตรศาสตร์พืชสวน และเรียนต่อปริญญาโท ที่ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรีบางมด คณะสาขาเทคโนโลยีและการเก็บเกี่ยว ในช่วงตอนเป็นเด็กการใช้ชีวิตเหมือนเด็กทั่วไป ซึ่งตอนนั้นไม่รู้สึกว่าเป็นคนพิการ สามารถเดินไปโรงเรียนที่อยู่ห่างจากบ้านประมาณ 2-3 กิโลเมตร เป็นโรงเรียนที่เป็นสอนตั้งแต่ระดับประถมศึกษาปีที่ 1 ถึงประถมศึกษาปีที่ 6  เมื่อเรียนจบระดับประถมศึกษาก็เรียนต่อในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ถึงมัธยมศึกษาปีที่ 3 ซึ่งโรงเรียนอยู่ห่างจากบ้านป

“การทำงานของเครือข่ายศิลปะดนตรีคนพิการ”

“การทำงานของเครือข่ายศิลปะดนตรีคนพิการ”

          คุณสมพร  เล่าว่า เริ่มจากต้องการที่จะหาสถานที่ที่เรียนดนตรี โดยมีพื้นฐานกีต้าร์ แต่อยากเก่งมากขึ้น จึงหาข้อมูลทางอินเทอร์เน็ตไปเจอโครงการพัฒนาทักษะด้านดนตรีที่เครือข่ายศิลปะดนตรีคนพิการ ซึ่งทางเครือข่ายจัดขึ้นในช่วงประมาณกลางปี 2550 จึงสมัครเข้ามาเรียนกีต้าร์ในโครงการ ซึ่งเป็นอีกจุดหนึ่งที่เปลี่ยนความรู้สึก จากเรียนเป็นอาสาสมัคร ทางทีมงานชักกชวนให้เข้าร่วมงานกับเครือข่ายศิลปะดนตรีคนพิการ เลยได้ออกลาออกจากงานประจำ มาทำงานเป็นเจ้าหน้าที่ของเครือข่ายศิลปะดนตรีคนพิการ ตั้งแต่เดือนเมษายนปี 2553 ปัจจุบันนี้ 13 ปี

7 นวัตกรรมลดความเหลื่อมล้ำ ช่วยยกระดับคุณภาพชีวิตผู้พิการ

          ปัจจุบัน ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีทำให้เกิดนวัตกรรมสำหรับ ผู้พิการ มากมาย ช่วยในการดำเนินชีวิตประจำวันและเปิดให้เข้าถึงโอกาสใหม่ๆ สามารถทำทุกอย่างได้เหมือนกับผู้คนทั่วไป เช่นเดียวกับ 7 นวัตกรรมสำหรับผู้พิการที่รวมเอาไว้ในบทความนี้ ที่จะเข้ามาช่วยยกระดับคุณภาพชีวิตของผู้พิการให้กลับมาใช้ชีวิตได้ง่ายขึ้น 
 
1. BrainPort การมองเห็นผ่านลิ้น  

"คนพิการอัมพาตใช้ชีวิตคู่อย่างไร" ตอนที่ 2

"คนพิการอัมพาตใช้ชีวิตคู่อย่างไร" ตอนที่ 2

          คุณเพชรน้ำหนึ่ง กล่าวว่า การมีชีวิตคู่ของคนพิการ โดยส่วนใหญ่คนพิการผู้หญิงอยากมีครอบครัว แต่ความรู้และทัศนคติในการมีครอบครัว หรือเกี่ยวกับเรื่องการใช้ชีวิตคู่อาจจะยังไม่รู้ บางคนมีแฟน เอาแฟนมาเป็นผู้ช่วยมันไม่ได้ ทำให้อยู่ด้วยกันยาก แต่อาจเป็นได้แต่ในทัศนคติของน้องเพชรมองว่า ในการใช้ชีวิต คือ การให้เกียรติซึ่งกันและกัน แต่ก็มีบางคู่ที่มีแฟนเป็น PA สำหรับเพชร ต้องวางสถานะให้ถูกว่าแฟนเป็นคนที่เราอยากใช้ชีวิตด้วย ส่วนคนที่เป็น PA จะเป็นอีกแบบหนึ่งเราจะใช้ชีวิตอีกแบบ และต้องทำความเข้าใจ อยู่ที่กล่องความคิดของเรา ถ้าเราไม่ได้รู้สึกว่าเราเป็นคนพิการใช้ชีวิตเหมือนคนปกติทั่วไป คนทั่วไปที่

เกาหลีใต้พัฒนาขาเทียมเบ้ารับขาแบบพองได้อัตโนมัติ ลดความเจ็บปวดของผู้พิการ

          ขาเทียมเป็นนวัตกรรมที่ถูกสร้างขึ้นมาเพื่อผู้พิการมาอย่างยาวนานแล้ว ทว่ามันยังมีข้อจำกัดอยู่บ้างคือหากเบ้ารับด้านในของขาเทียม ไม่พอดีกับส่วนโค้งของตอขาของผู้ใช้ มันก็อาจส่งผลต่อความเจ็บปวดและอาจเกิดแผลบริเวณนั้นได้ แต่ดูเหมือนเรากำลังจะมีสิ่งประดิษฐ์ที่แก้ปัญหานี้ได้ คือขาเทียมที่เบ้ารับสามารถพองตัวเองเพื่อรองรับให้พอดีกับขาของผู้ใช้งาน 

บริษัทอิตาลี ผลิต "Mia Hand" มือเทียมเชื่อมระบบประสาท ชิ้นแรกของโลก!

          บริษัทวิจัยและพัฒนาแขนกลจากอิตาลี ผลิต "Mia Hand" มือเทียม ที่สามารถเชื่อมต่อกระดูกและระบบประสาทได้ เป็นชิ้นแรกของโลก! ปัจจุบัน มนุษย์สร้างสรรค์เทคโนโลยีที่ช่วยอำนวยความสะดวกในด้านต่าง ๆ มากมาย โดยเฉพาะเทคโนโลยีการผลิตอวัยวะเทียมสำหรับผู้พิการ ที่เปรียบเสมือนการนำอวัยวะที่สูญเสียไปกลับคืนมาอีกครั้ง
          ล่าสุด เพรนซิเลีย บริษัทที่เชี่ยวชาญด้านการวิจัย การออกแบบ และพัฒนาแขนกลที่มีความคล่องตัวสูง สำหรับการใช้งานในสาขาการแพทย์และอุตสาหกรรมจากอิตาลี ได้ผลิต “Mia Hand” มือเทียมที่เชื่อมต่อกับระบบประสาทและกระดูกโดยตรง ชิ้นแรกของโลก

"คนพิการอัมพาตใช้ชีวิตคู่อย่างไร" ตอนที่ 1

"คนพิการอัมพาตใช้ชีวิตคู่อย่างไร" ตอนที่ 1

          คุณเพชรน้ำหนึ่ง กล่าวว่า เป็นบริษัทที่ผลิตรายการทีวี เกี่ยวกับคนพิการ เป็นกิจกรรมที่ทำเกี่ยวกับคนพิการ และยังมีพาคนพิการไปเที่ยว หรือว่าพาคนพิการไปบริจาคของ และมีประกวดมิสวิลแชร์ ไทยแลนด์ ซึ่งเหตุผลที่เปิดบริษัท คืออยากให้เห็นคนพิการในอีกรูปแบบหนึ่ง ที่เป็นบริษัทจำกัด รายการที่ทำอยู่ในตอนนี้ เริ่มจากทำรายการท่องเที่ยวกับคนพิการ “รายการเส้นทางสีรุ้ง” ในตอนนั้นชวนคุณคริส เบญจกุล และ คุณเจฟฟี่ เบญจกุล ทำได้ประมาณ 10 ปี หลังจากนั้นทำรายการเกี่ยวกับอาชีพคนพิการทำได้ประมาณ 5 – 6 ปี ในปัจจุบันเป็นรายการ กัลยายล และในเฟสบุ๊ค และ ช่องยูทูป กัลยายล ทำรายการนี้เพื่อให้คนในสังคมเข้าใจผู้หญิงพ

วิศวะมหิดล สร้างสรรค์ "จดจำ" อุปกรณ์จดบันทึกเพื่อน้องในโลกมืดและผู้พิการทางสายตา

          คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ร่วมกับ สถาบันราชสุดา คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล  วิจัยพัฒนา 'จดจำ' อุปกรณ์จดบันทึกสำหรับผู้พิการทางสายตาแบบต้นทุนต่ำ เพื่อลดความเหลื่อมล้ำแก่เยาวชนและผู้พิการทางสายตาที่มีรายได้น้อยในการเข้าถึงเทคโนโลยี ส่งเสริมโอกาสในการเรียนรู้และสร้างอนาคตที่ดี ลดการนำเข้าจากต่างประเทศ เผยโครงการนำร่องได้ส่งมอบล็อตแรก 20 เครื่อง ให้แก่โรงเรียนสอนคนตาบอดพระมหาไถ่พัทยาฯ โดยมีภาคเอกชนบริจาคทุนสนับสนุน

“การขับเคลื่อนงานของเครือข่ายคนพิการรักสุขภาพ (ตอนที่ 2)”

การขับเคลื่อนงานของเครือข่ายคนพิการรักสุขภาพ (ตอนที่ 2)

          คุณวันเสาร์ กล่าวว่า การเข้าถึงบริการรักษาพยาบาลต้องมีการตรวจสอบสิทธิ์ ซึ่งตอนนี้บริการของศูนย์ร่วมให้บริการสำหรับผู้ใช้บัตรทอง สามารถเข้าใช้บริการได้ทั้ง 3 ศูนย์ ส่วนค่าบริการไม่เสีย เพราะสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เป็นผู้ออกค่าใช้จ่าย เพื่อให้คนพิการสามารถเข้าถึงบริการได้ และตอนนี้กำลังผลักดันให้สิทธิอื่น ๆ สามารถเข้ารับบริการได้ เช่น สิทธิข้าราชการ สิทธิประกันสังคม เรื่องการฟื้นฟูสมรรถภาพ เรื่องการฝึกทักษะการดำรงชีวิตขั้นพื้นฐานเข้าไปด้วย ซึ่งตอนนี้มีข้อจำกัดเฉพาะ 3 ศูนย์ที่เป็นของคนพิการ ซึ่งคนที่จัดต้องเป็นผู้ให้บริการที่ผ่านหลักสูตรผู้ให้บริการฝึกทักษะการดำรงชีวิตอิสระ

หน้า

^ กลับสู่เนื้อหาหลัก