ขณะนี้คุณอยู่ที่ ›

กฎบัตรอาเซียน

กฎบัตรอาเซียน

 

ธงและสัญลักษณ์ อาเซียน

สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

(Association of Southeast Asian Nations)

คำขวัญ

ความเป็นมาของประชาคมอาเซียน

ก.ไอซีที หนุนคนพิการได้เข้าถึงเทคโนโลยี

นายไชยยันต์ พึ่งเกียรติไพโรจน์ ปลัดกระทรวงไอซีที

ประเทศไทยกำลังเข้าสู่ยุคดิจิทัลอย่างเต็มตัว ประชาชนส่วนมากล้วนโหยหาเทคโนโลยีที่ทันสมัยเพื่อตอบสนองการใช้งานตามลักษณะไลฟ์สไตล์ของแต่ละคน และเมื่อเทคโนโลยีเปิดกว้าง สิทธิการเข้าถึงก็ไม่ควรจะปิดกั้นอีกต่อไป โดยเฉพาะการพัฒนาการใช้  ไอซีทีสำหรับคนพิการที่นอกจากจะเสียเปรียบในด้านร่างกายแล้ว ควรแล้วหรือที่จะถูกปิดกั้นการเข้าถึงเทคโนโลยี

 

"กระทรวงวิทย์ " พัฒนาชุดแสดงผลอักษรเบรลล์ 10 เซลล์ ใช้กับผู้พิการทางสายตา ลดค่าใช้จ่ายและการนำเข้าจากต่างประเทศ

              สถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน(องค์การมหาชน) กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีพัฒนาคิดค้น"ชุดแสดงผลอักษรเบรลล์ 10 เซลล์" หวังให้คนตาบอดใช้อ่านอ่านข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์บนจอคอมพิวเตอร์ได้อย่างสะดวกรวดเร็ว แม่นยำ เล็งพัฒนาวิธีการผลิตและโปรแกรมให้ได้มาตรฐานสากล ลดการนำเข้าจากต่างประเทศ
 
               ศาสตราจารย์ นาวาอากาศโท ดร.สราวุฒิ สุจิตจร ผู้อำนวยการสถาบันซินโครตรอน กล่าวว่า เมื่อปี 2555 ทางสถาบันฯ ได้ประสบความสำเร็จในการวิจัยและพัฒนาชุดแสดงผลอักษรเบรลล์ขนาด 3 เซลล์ด้วยแสงซินโคร

รอยไหม

กล้องกระจายเสียงสำหรับผู้พิการสายตา

ระบบที่เปรียบเหมือนดวงตาอะไหล่ให้กับผู้พิการทางสายตานี้ใช้ง่าย แค่ติดอุปกรณ์เข้ากับขาแว่น กล้องที่เพิ่มขึ้นมาจะทำหน้าที่เป็นตาดวงใหม่ พร้อมแจ้งเตือนให้รู้ด้วยซอฟต์แวร์แปลสิ่งที่กล้องเห็นให้เป็นเสียง ระบุวัตถุต่างๆ พร้อมบอกข้อมูลที่เห็นในทันที เช่น เมื่อเข้าร้านอาหาร เพียงส่องกล้องไปยังเมนู มันก็จะบอกให้รู้ทุกอย่างเหมือนตาเห็น หรือเวลาเดินไปตามท้องถนนหนทาง แว่นก็จะบอกได้ว่ามีวัตถุใดกีดขวาง ฯลฯ

 

ไทยเจ๋ง!คิดค้นชุดแสดงผลอักษรเบรลล์ 10 เซลล์ช่วยคนตาบอด

นักวิจัยไทย คิดค้นชุดแสดงผลอักษรเบรลล์ 10 เซลล์ช่วยคนตาบอด อ่านข้อมูลป้อนผ่านคอมฯได้ต่อเนื่องถูกต้องมากขึ้น ทั้งสะดวกรวดเร็ว ประหยัดลดนำเข้าจากต่างประเทศ ราคาไม่เกินหมื่นบาท

ชุดแสดงผลอักษรเบรลล์ 10 เซลล์ช่วยคนตาบอด
 

พัฒนาอาชีพให้มีความมั่นคง (อช31003) ปรับปรุง2554

"คอปเตอร์ 4 ใบพัด"บินได้ด้วย"ความคิด"มนุษย์ ประสบผลสำเร็จแล้ว

นักศึกษากำลังทดลองควบคุมคอปเตอร์ 4 ใบพัด หรือควอดคอปเตอร์ ภาพจาก: University of Minnesota

นักวิจัย ใช้ประโยชน์จาก"พลังของความคิด"ของมนุษย์ เพื่อใช้ควบคุมคอปเตอร์ 4 ใบพัด หรือควอดคอปเตอร์ ให้สามารถบินได้ตามที่ต้องการ และสามารถต่อยอดการพัฒนาเพื่อผลิตอุปกรณ์ที่จะเป็นประโยชน์ต่อผู้ทุพลภาพได้ในอนาคต

การทดสอบจำเป็นต้องใช้ระบบอิเล็กทรอนิกส์ที่ผ่านการฝึก เพื่อให้สามารถจดจำรูปแบบของเทคนิคการตรวจคลื่นไฟฟ้าสมอง (Electroencephalogram) โดยความคิดต่างๆ อาทิ การกำหมัดด้วยมือซ้าย จะมีความสัมพันธ์ร่วมกันกับการเคลื่อนไหวของควอดคอปเตอร์ไปทางซ้าย

 

หน้า

^ กลับสู่เนื้อหาหลัก