ขณะนี้คุณอยู่ที่ ›

นักวิจัยเยอรมนีประดิษฐ์ ‘อุปกรณ์ช่วยนำทางคนตาบอด’ ด้วยเครื่องพิมพ์สามมิติ

                ความหวังที่จะทำให้คนตาบอดสามารถกลับมามองเห็นได้นั้นเริ่มมีความหวังขึ้นอีกเรื่อย ๆ นักวิจัยจากเยอรมนีได้ตีพิมพ์ร่างงานวิจัยใหม่ ซึ่งเป็นอุปกรณ์ที่สามารถช่วยให้คนตาบอดสามารถเดินทางและหลีกเลี่ยงอุปสรรคกีดขวางได้โดยที่เพียงแค่สวมแว่นตาที่มีระบบอินฟราเรดและติดแผ่นส่งสัญญาณไว้ที่แขนได้โดยไม่ต้องใช้ไม้เท้า

“จุฬาฯ” พัฒนาโปรแกรม “ReadMe” แปลงเอกสารรูปภาพเป็นข้อความดิจิทัล

          อาจารย์คณะวิศวฯ จุฬาฯ นำเทคโนโลยี AI Deep Tech พัฒนาโปรแกรมสแกนเอกสารและรูปภาพเป็นข้อความ (OCR) อ่านภาษาไทยแม่นยำกว่า 90% UTC จุฬาฯ พร้อม spin-off สู่ตลาดในนามบริษัท Eikonnex AI จำกัด

          หลายคนที่ทำงานด้านข้อมูลที่มีการใช้เอกสารกระดาษ เช่น การทำแบบสอบถาม งานวิจัย ฯลฯ คงจะรู้ดีว่างานยากและจำเจจริงๆ อยู่ที่ตอนได้รับกระดาษพร้อมคำตอบหรือข้อมูลกลับมาแล้ว ต้องมาพิมพ์ข้อความจากกระดาษทีละแผ่นๆ เพื่อจัดเก็บข้อมูลเป็นไฟล์ดิจิทัล เป็นงานที่ใช้เวลามาก แถมทำให้สายตาล้า ออฟฟิศซินโดรมถามหาอีกต่างหาก 

“เติมรักให้ครอบครัวของคนพิการ ตอนที่ 2”

             ความมั่นใจในตัวเอง สำหรับคู่รักที่พึ่งเริ่มกันใหม่มันขึ้นอยู่กับความเข้าใจและความผูกพันธ์กัน คนที่ต้องการผู้หญิงไปเป็นภรรยา คือต้องการแม่ศรีเรือนแต่ถ้าสามารถช่วยเหลือตัวเองได้ แล้วอยู่ด้วยกันได้ มีลูกได้ ไปไหนมาไหนด้วยกันได้ ผมเห็นหลายคู่แล้วอยู่ด้วยกันและแต่งงานกัน ยกตัวอย่างคนไข้ที่ผ่านการฟื้นฟูไปเมื่อเขาออกไปเขาก็ไม่ได้ทิ้งกัน บางคู่ก็แต่งงานกัน ผู้ชายกลุ่มแรกมีความมั่นใจจนล้น คือมีซ้ำแล้วซ้ำอีกตอนแรกอาจจะขาดความมั่นใจ อาจจะมองในกลุ่มคนพิการด้วยกันอยู่กันได้ แต่พอมาถึงจุดหนึ่งเมื่อรู้ว่าตัวเองสามารถมีอะไรกับผู้หญิงได้ มีอาชีพ หรือสามารถพูดคุยกับผู้หญิงปกติอื่น ๆ ได้

“เติมรักให้ครอบครัวของคนพิการ ตอนที่ 1”

             ประสบอุบัติเหตุที่จังหวัดแพร่ ไปเล่นดนตรีขากลับประสบอุบัติเหตุรถคว่ำ อาจารย์เสียชีวิตและเด็กนักเรียนอีก 8 คนบาดเจ็บ ผมกลับรู้สึกว่าพวกที่บาดเจ็บกะโหลกร้าว แตก แขนขาหัก พวกเขาเจ็บหนัก แต่ก็สามารถกลับมาเดินได้เหมือนเดิม ผมก็ไม่ได้บาดเจ็บมากกว่าพวกเขา แต่ผมเจอในจุดที่เปราะบาง กระดูกต้นคอหัก ช่วงที่รักษาตัวก็พยายามฟื้นฟูตนเอง มีการทำกายภาพบำบัด กิจกรรมบำบัด ในส่วนของการฟื้นฟูตัวคนพิการต้องแอคทีฟตัวเองขึ้นมา มีการฟื้นตัวในกิจวัตรประจำวันของสภาพร่างกายของตนเอง 

“ทิศทางอนาคตของกิจการ SE (โซเชียล เอ็นเตอร์ไพรส์)”

          เริ่มต้นจากพระราชบัญญัติส่งเสริมวิสาหกิจเพื่อสังคม ปี 2560 อยากให้ท่านผู้อ่านได้ลองไปศึกษาเพิ่มเติม ความหมายแรกคือ เป็นบริษัทนิติบุคคล ถ้าจดทะเบียนเป็นนิติบุคคลตามกฎหมายพาณิชย์ เป็นบริษัทที่มีผลงานส่งเสริมความเข้มแข็งของสังคม ความเชื่อมต่อของกลุ่มเปราะบาง เป็นการส่งเสริมอาชีพการจ้างงาน การนำรายได้ไปสนับสนุนการพัฒนาคุณภาพชีวิตหรือสิ่งแวดล้อมหรือในเรื่องอื่น ๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อสังคมโดยรวม จะถือว่าบริษัทเหล่านี้เป็นบริษัทวิสาหกิจเพื่อสังคมที่กฎหมายให้การรับรอง แต่บริษัทจะต้องยื่นคำขอจดทะเบียน 2 ขั้นตอน โดยขั้นตอนแรกไปจดที่กระทรวงพาณิชย์เพื่อเป็นบริษัท หลังจากนั้นผ่านการทำงานแล้วอย่า

“การสัมมนาศิลปินไม้เท้าขาว new normal”

          โควิดเป็นเรื่องที่ทุกคนทุกกลุ่มต้องให้ความสำคัญและมีการปรับพฤติกรรมวิถีชีวิตใหม่ เนื่องจากสถานการณ์ในปัจจุบันโควิดทำให้เราต้องปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตใหม่ การใช้ชีวิตประจำวัน รวมถึงการประกอบอาชีพด้วย ผลกระทบหรือสิ่งที่เราต้องปรับ new normal ส่วนใหญ่พี่น้องคนตาบอดเราประกอบอาชีพศิลปิน แสดงในที่สาธารณะ ทำการแสดงร้องเพลง เล่นดนตรีเปิดหมวกตามตลาดบ้าง แหล่งชุมชนบ้าง ถ้าเป็นในแหล่งชุมชนผู้คนก็จะใส่หน้ากากอนามัยกัน เฟซชิลด์และมีการรักษาระยะห่างกัน ความหนาแน่นของผู้คนจะน้อยลง ถ้าพวกเราจะต้องไปทำการแสดงเราก็ต้องมีการป้องกัน ถ้าเป็นนักร้องก็ต้องใส่แมสอาจทำให้เสียงไม่ไพเราะก็เปลี

“สัดส่วนการจ้างงานคนพิการภาครัฐ/การฝึกอบรมอาชีพคนพิการ 20.000 คน”

          การจ้างงานคนพิการภาครัฐในส่วนของพนักงานและเจ้าหน้าที่ต่าง ๆ ของ กทม.

“เพจ To Gether การพาไปเที่ยวของคนพิการ”

“เพจ To Gether การพาไปเที่ยวของคนพิการ”

          คนพิการไปเที่ยวได้มั๊ย?

หนังสือเดินทางรุ่นใหม่ที่มีอักษรเบลล์สำหรับคนพิการ

หนังสือเดินทางติดแผ่นใสอักษรเบรลล์

            กรมการกงสุลเปิดตัวหนังสือเดินทาง หรือพาสปอร์ต รุ่นใหม่ ติดแผ่นใสอักษรเบรลล์เพื่อผู้พิการทางสายตา โดยเป็นไม่กี่ประเทศในโลกที่ให้ความสำคัญเรื่องนี้ 

กรมการกงสุล กระทรวงการต่างประเทศ ได้พัฒนาหนังสือเดินทาง หรือพาสปอร์ตรุ่นใหม่บริการอำนวยความสะดวกแก่บุคคลทุกกลุ่ม ตั้งโจทย์ต้องเป็นหนังสือเดินทางของคนไทยทุกคน ดังนั้น ในรูปเล่มนอกจากสะท้อนเอกลักษณ์ความเป็นไทยตั้งแต่หน้าแรกจนถึงหน้าสุดท้าย มีมาตรฐานสูง ปลอมแปลงยากแล้ว สิ่งสำคัญที่สุดอีกอย่างหนึ่งคือต้องให้คนไทยทุกคน ทุกกลุ่ม เข้าถึงบริการและได้รับความสะดวกมากที่สุด

“สุขภาพของคนพิการและการเข้าถึงสิทธิ์ ตอนที่ 1”

“สุขภาพของคนพิการและการเข้าถึงสิทธิ์ ตอนที่ 1”

          จัดสมัชชาสุขภาพได้ขอเสนอมา 10  ข้อ หนึ่งในนั้นมีเรื่องตั้งกลไกในการติดตามงาน เพราะที่ผ่านมาพอจัดทำอะไรแล้ว ทุกคนฝากส่วนกลางให้ช่วยติดตามแต่กลไกกลางไม่มี ก็เลยต้องสถาปนากลไกกลางขึ้นมาเลยกลายมาเป็นเครือข่ายคนพิการรักสุขภาพ มีคณะกรรมการสุขภาพคนพิการแห่งชาติขึ้นมา โดยมี อาจารย์ณรงค์  ปฏิบัติสรกิจ (ถึงแก่กรรม) เป็นประธาน และผมเป็นเลขา และทำงานร่วมกับสำนักงานปฎิรูประบบสุขภาพแห่งชาติ เรียกว่า สปรส ปัจจุบันพัฒนาเป็น คณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ หรือ สช. ภายหลังมี พรบ. สุขภาพแห่งชาติ กลไกเหล่านี้เริ่มชัดขึ้น เราทำงานก่อนมีกฎหมายแล้วไปเคลื่อนให้มีกฎหมาย

หน้า

^ กลับสู่เนื้อหาหลัก