ขณะนี้คุณอยู่ที่ ›

หน้าที่และพันธกิจ

      ให้บริการสื่อส่งเสริมการเรียนรู้สำหรับคนพิการ หรือบุคคลซึ่งมีความต้องการจำเป็นพิเศษ ให้สามารถเรียนรู้ได้โดยสะดวก มุ่งเน้นการเรียนรู้ตลอดชีวิต  เพื่อการพัฒนาตนเองของคนพิการทุกประเภท สามารถเรียนรู้ได้โดยสะดวกและเข้าถึงแหล่งเรียนรู้ทุกประเภทได้อย่างเท่าเทียม อาทิ หนังสือเสียงสำหรับผู้ด้อยโอกาสในการเข้าถึงสื่อสิ่งพิมพ์   สื่ออักษรเบรลล์อิเล็กทรอนิกส์สำหรับผู้บกพร่องทางการเห็น  รายการวีดิทัศน์/รายการโทรทัศน์ที่ให้ความรู้เกี่ยวกับผู้พิการประเภทต่างๆ เช่น บุคคลที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน บุคคลออทิสติก และบุคคลที่มีความบกพร่องทางสติปัญญาและการเรียนรู้ สิ่งพิมพ์ เช่น บทความวิชาการ งานวิจัยเกี่ยว

คุณรู้สึกอย่างไรบ้างเกี่ยวกับการออกแบบของเว็บไซต์นี้

ดีมาก
64% (180 โหวต)
ดี
29% (83 โหวต)
พอใช้
4% (11 โหวต)
ควรปรับปรุง
2% (5 โหวต)
แย่มาก
1% (3 โหวต)
คะแนนโหวตทั้งหมด: 282

อะไรคือ RTI (Responsiveness to Intervention) หรือการตอบสนองต่อการให้ความช่วยเหลือ

อะไรคือ RTI (Responsiveness to Intervention) หรือการตอบสนองต่อการให้ความช่วยเหลือ

ในหลายโรงเรียนปัจจุบันนี้  เมื่อนักเรียนเรียนตามไม่ทันเพื่อน  ทางเลือกเดียวเท่านั้นที่จะขอความช่วยเหลือคือ  ทำให้การบริการการศึกษาพิเศษมีคุณภาพ  อย่างไรก็ตาม ถ้านักเรียนที่โรงเรียนซึ่งใช้รูปแบบ RTI อยู่แล้วต้องดิ้นรน  ความคิดแรกของทีมงานที่โรงเรียนคือ  บางทีเด็กคนนี้ไม่เข้าใจการสอนซึ่งเขาหรือเธอจำเป็นต้องได้รับการสอนเพื่อ ความสำเร็จ  พูดได้อีกอย่างว่า นักเรียนคนนั้นไม่ “ตอบสนอง” ต่อการสอน  ซึ่งไม่ได้หมายความว่า  นักเรียนคนนั้นไม่ได้ใช้ความพยายาม  แต่ส่วนมากแล้วเป็นเพราะว่าเขาหรือเธอไม่เข้าใจสิ่งที่ครูสอน

ผู้บกพร่องทางการอ่าน (Dyslexia) กับปัญหาการขับขี่รถ

ผู้บกพร่องทางการอ่าน (Dyslexia) กับปัญหาการขับขี่รถ

ทอมเป็นหนุ่มหล่อวัย 27 ปีที่เป็นผู้บกพร่องทางการอ่าน(dyslexia) ต้องพบกับปัญหาการเรียนขับรถ สมัยเรียนมัธยมปลายเขาสอบขับรถตกหลายครั้ง แต่เขาก็ยังคงเรียนขับรถต่ออีกในสมัยเรียนมหาวิทยาลัย แต่ยังคงไม่ได้ไปสอบการขับรถอีก ตอนนี้เขาเป็นผู้ใหญ่แล้ว ทำให้เขาตระหนักว่าเขาคงจำเป็นต้องเรียนขับรถแบบช้าๆ สม่ำเสมอและทำตามวินัยที่เขาเรียนการอ่าน อย่างไรก็ตามเขาก็ตกลงใจที่จะเรียนขับรถให้ได้

การช่วยเหลือเด็กที่บกพร่องทางการเรียนรู้ให้เข้าใจสิ่งที่อ่าน ตอนที่ 5

การช่วยเหลือเด็กที่บกพร่องทางการเรียนรู้ให้เข้าใจสิ่งที่อ่าน ตอนที่ 5

เทคนิคการจำ (Mnemonics)

เทคนิคการจดจำเกี่ยวโยงกับความเข้าใจในการอ่าน รวมไปถึง

อักขรานุกรมประวัติศาสตร์ไทย อักษร ก

การช่วยเหลือเด็กที่บกพร่องทางการเรียนรู้ให้เข้าใจสิ่งที่อ่าน ตอนที่ 4

การช่วยเหลือเด็กที่บกพร่องทางการเรียนรู้ให้เข้าใจสิ่งที่อ่าน ตอนที่ 4

กลยุทธ์การสร้างความเข้าใจอย่างเฉพาะเจาะจง

กุญแจ อย่างหนึ่งที่จะสร้างความเข้าใจคือ นักเรียนต้องกระตือรือร้นในการอ่าน  บ่อยครั้งที่นักเรียนกลอกตาดูไปตามบรรทัดตัวอักษรและไล่เลียงไปจนถึงจุดจบ ของหน้าแล้วคิดว่า พวกเขาได้ “อ่าน”
เนื้อหาไปแล้ว  กระบวนการดูไปตามตัวหนังสือนี้ไม่ใช่ “การอ่าน”  การสร้างความเข้าใจในการอ่านคือกระบวนการที่มีชีวิตชีวาที่จำเป็นต้องให้ผู้ อ่านเข้ามามีบทบาท  ในฐานะผู้อ่านคุณจับความหมายได้โดยการคิดไปด้วยขณะที่มีการกระทำของการอ่าน  จากความรู้ที่คุณอ่านนั้นยังก่อให้คุณเกิดความคิดและมโนภาพต่างๆในกิจกรรม การอ่าน

การช่วยเหลือเด็กที่บกพร่องทางการเรียนรู้ให้เข้าใจสิ่งที่อ่าน ตอนที่ 3

การช่วยเหลือเด็กที่บกพร่องทางการเรียนรู้ให้เข้าใจสิ่งที่อ่าน ตอนที่ 3

การพัฒนาคำศัพท์

การเข้าใจในคำศัพท์อย่างถูกต้องถือ เป็นเรื่องที่สำคัญมากสำหรับการฟังและความเข้าใจในการอ่าน  คุณสามารถช่วยเหลือให้นักเรียนของคุณรู้จักคำศัพท์เพิ่มมากขึ้นโดยการสร้าง ความหลากหลายในการโต้ตอบทางภาษาและประสบการณ์จากแบบฝึกหัด  ยิ่งนักเรียนมีส่วนเกี่ยวข้องอย่างสนุกสนานเท่าไร  เขาก็ยิ่งจดจำคำศัพท์ได้มีประสิทธิภาพมากเท่านั้นและมันจะง่ายขึ้นอีกด้วย ที่จะให้เขาได้ใช้ความรู้ของเขากับสถานการณ์ใหม่ ๆ

คำบุพบทต่างๆ (prepositions)

การช่วยเหลือเด็กที่บกพร่องทางการเรียนรู้ให้เข้าใจสิ่งที่อ่าน ตอนที่ 2

 การช่วยเหลือเด็กที่บกพร่องทางการเรียนรู้ให้เข้าใจสิ่งที่อ่าน ตอนที่ 2

Chunking เป็นคำศัพท์ทางภาษาคอมพิวเตอร์ที่มีความหมายถึง “การจัดการจำนวนก้อนข้อมูล” มีความหมายถึงการแตกงานหรือข้อมูลออกเป็นก้อนที่เล็กลงให้สามารถจัดการได้ ง่ายขึ้น มีหลายวิธีที่ใช้การจัดการก้อนข้อมูลให้เล็กลงในการทำการบ้าน

สมมติว่า นักเรียนคนหนึ่งบ่นเรื่องงานที่ถูกมอบหมายให้ทำเช่นว่า  “บทนี้ยาวเกินไป  ไม่น่าจะอ่านเลย”

ธรรมะศักดิ์สิทธิ์

หน้า

^ กลับสู่เนื้อหาหลัก